turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 27/470/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า ผลํ วิปาโก ความว่า สิ่งใดที่เรียกว่า ผล หรือวิบาก
บุคคลผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิ ย่อมกล่าวสิ่งนั้นว่า ไม่มี.
บทว่า นตฺถิ อยํ โลโก ความว่า โลกนี้สำหรับผู้อยู่ในปรโลก ไม่มี.
บทว่า ปรโลโก ความว่า โลกอื่น สำหรับผู้ที่อยู่ในโลกนี้ ก็ไม่มี.
อุจเฉทวาทีบุคคล ย่อมแสดงว่า สรรพสัตว์ย่อมขาดสูญ ในโลกนั้นนั่นแล.
อุจเฉทวาทีบุคคล กล่าวว่า นตฺถิ มาตา ปิตา (มารดาไม่มี
บิดาไม่มี) ดังนี้ เป็นเพราะ (เขาถือว่า) ไม่มีผล การปฏิบัติชอบ และ
การปฏิบัติผิดในมารดาบิดาเหล่านั้น.
อุจเฉทวาทีบุคคลกล่าวว่า นตฺถิ สตฺตา โอปปาติกา (สัตว์ทั้งหลาย
ผู้เป็นโอปปาติกะไม่มี) ดังนี้ เพราะความเชื่อว่า ชื่อว่าสัตว์ที่จุติแล้ว
จะอุบัติขึ้น (อีก) ไม่มี.
บทว่า จาตุมฺมหาภูติโก ความว่า เกิดมาจากมหาภูตรูป ๔
บทว่า ปฐวี ปฐวีกาย ได้แก่ ปฐวีธาตุ ภายใน (ไปเป็น) ปฐวี
ธาตุภายนอก.
บทว่า อนุเปติ แปลว่า เข้าถึง. บทว่า อนุปคจฺฉติ เป็นไวพจน์ของ
บทว่า อนุเปตินั้นนั่นแหละ หมายความว่า แทรกซึมอาทิผิด อักขระเข้าไปดังนี้บ้าง๑
ด้วยบทแม้ทั้งสอง ผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิย่อมแสดงว่า เข้าถึง คือ
เข้าไปถึง. ในธาตุที่เหลือ มีอาโปเป็นต้น ก็มีนัย (ความหมาย)
อย่างเดียวกันนี้แล.
บทว่า อินฺทฺริยานิ ความว่า อินทรีย์ทั้งหลายมีใจเป็นที่ ๖ ย่อม
ลอยไปสู่อากาศ.
๑. อรรถกถา อนุยาติ อนุคจฺฉตีติ ตสฺเสว เววจนํ อนุคจฺฉตีติ อตฺโถ. ฉบับพม่าว่า อนุเปตีติ
อนุยาติ อนุปคจฺฉตีติ ตสฺเสว เววจนํ อนุคจฺฉตีติปิ อตฺโถ. แปลตามฉบับพม่า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 7/150/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
หลังจากนั้น เกณิยชฎิลได้ดำริว่า เราจะให้นำอะไรไปถวายพระสมณ-
โคดมดีหนอ จึงได้ดำริต่อไปว่า บรรดาฤษีผู้เป็นบุรพาจารย์ของพวกพราหมณ์
คือ ฤษีอัฎฐกะ ฤษีวามกะ ฤษีวามเทวะ ฤษีเวสสามิตตะ ฤษียมตัคคิ ฤษี
อังคีรสะ ฤษีภารทวาชะ ฤษีวาเสฏฐะ ฤษีกัสสปะ ฤษีภคุ ซึ่งเป็นผู้ผูกมนต์
บอกมนต์มาก่อนพวกพราหมณ์ในบัดนี้ ขับตามกล่าวตามซึ่งบทมนต์ของเก่านี้
ที่ท่านขับแล้วบอกแล้ว รวบรวมไว้แล้ว กล่าวได้ถูกต้อง บอกได้ถูกต้องตามที่
กล่าวไว้บอกไว้ เป็นผู้เว้นฉันในราตรี งดฉันในเวลาวิกาล ฤษีเหล่านั้นได้ยินดี
น้ำปานะเห็นปานนี้ แม้พระสมณโคดมก็เว้นฉันในราตรี งดฉันในเวลาวิกาล
ก็ควรจะยินดีน้ำปานะเห็นปานนี้บ้าง แล้วสั่งให้ตกแต่งน้ำปานะเป็นอันมาก ให้
คนหาบไปถึงพุทธสำนัก ครั้นถึงแล้วได้กราบทูลปราศรัยกับพระผู้มีพระภาคเจ้า
ครั้นผ่านการกราบทูลปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิง เป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว
ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง แล้วกราบทูลอาราธนาพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า
ขอท่านพระโคดมโปรดทรงรับน้ำปานะของ ข้าพระพุทธเจ้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า เกณิยะ ถ้าเช่นนั้นจงถวายแก่ภิกษุทั้งหลายอาทิผิด อักขระ
ภิกษุทั้งหลายรังเกียจ ไม่ยอมรับประเคน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จงรับประเคนฉันเถิด ครั้งนั้นเกณิยชฎิลได้อังคาส
ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขอาทิผิด อักขระ ด้วยน้ำปานะเป็นอันมากด้วยมือของตน
ยังพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ล้างพระหัตถ์ จนนำพระหัตถ์จากบาตรให้ห้ามภัตแล้ว
ได้นั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.
พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงชี้แจงให้เกณิยชฎิลผู้นั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่ควร
ส่วนข้างหนึ่ง เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 3/154/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เรื่องต้นไม้
[๓๙๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความกำหนัด ได้เขย่า
ต้นไม้ที่สตรีขึ้น เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว
กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าๆ ตรัสว่า ดูก่อน
ภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ.
เรื่องเรือ
[๓๙๔] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความกำหนัด โคลงเรือ
ที่สตรีลงนั่ง เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง
หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ
เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ.
เรื่องเชือก
[๓๙๕] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความกำหนัด กระตุก
เชือกอาทิผิด สระที่สตรีรับไว้ เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว
กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อน
ภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เรื่องท่อนไม้
ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุหนึ่งฉุดท่อนไม้ที่สตรีถือไว้ เธอได้มี
ความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูล
เรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติ
สังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
เรื่องดันด้วยบาตร
[๓๙๖] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความกำหนัด ดันสตรีไป
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 66/285/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จำแนกเฉพาะซึ่งธรรมรัตนะ เพราะอรรถว่า ทรงทำซึ่งที่สุดแห่งภพทั้ง-
หลาย เพราะอรรถว่า มีพระกายอันอบรมแล้ว มีศีลอันอบรมแล้ว มีจิต
อันอบรมแล้ว มีปัญญาอันอบรมแล้ว. อนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง
ซ่องเสพเสนาสนะอันเป็นป่าละเมาะ ป่าทึบอันสงัด มีเสียงน้อย ปราศจาก
เสียงกึกก้อง ปราศจากชนผู้สัญจรไปมา เป็นที่ควรทำกรรมลับของมนุษย์
สมควรแก่วิเวก เพราะฉะนั้นจึงชื่อว่า ภควา. อนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า
ทรงมีส่วนแห่งจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร
เพราฉะนั้น จึงชื่อว่า ภควา.
อนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีส่วนแห่งอธิศีล อธิจิต อธิปัญญา
อันมีอรรถรส ธรรมรส วิมุตติรส เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ภควา. อนึ่ง
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีส่วนแห่งฌาน ๔ อัปปมัญญา ๔ อรูปสมาบัติ ๔
เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ภควา. อนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีส่วนแห่ง
วิโมกข์ ๘ อภิภายตนะ ๘ (ฌานเป็นที่ตั้งแห่งความครอบงำอารมณ์)
อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ (รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ สัญญาเวทยิตนิโรธ ๑)
เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ภควา. อนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีส่วนแห่ง
สัญญาภาวนาอาทิผิด อักขระ ๑๐ กสิณสมาบัติ ๑๐ อานาปานสติสมาธิ อสุภสมาบัติ
เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ภควา.
อนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีส่วนแห่งสติปัฏฐาน ๔ สัมมัป-
ปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรค
มีองค์ ๘ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ภควา. อนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมี
ส่วนแห่งตถาคตพละ ๑๐ เวสารัชชธรรม ๔ ปฏิสัมภิทา ๔ อภิญญา ๖
พุทธธรรม ๖ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ภควา. พระนามว่า ภควา นี้
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 9/138/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พ. ใคร ที่นั่น .
ส. ข้าพระพุทธเจ้า สารีบุตร พระพุทธเจ้าข้า.
พ. สารีบุตร ทำไมเธอจึงมานั่งที่โคนต้นนี้เล่า.
จึงท่านพระสารีบุตรได้กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า.
[๒๖๖] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ใน
เพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุ
ทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า ภิกษุอันเตวาสิกของภิกษุฉัพพัคคีย์
พูดว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตเสนาสนะตามลำดับผู้แก่กว่าเฉพาะของ
สงฆ์เท่านั้น ไม่ได้ทรงหมายถึงของที่เขาทำเจาะจง จึงรีบไปก่อนหน้าภิกษุสงฆ์
มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข จองมณฑปอาทิผิด อักขระ จองเครื่องลาด จองสถานที่ว่างไว้ว่า
ที่นี้สำหรับอุปัชฌาย์ของพวกเรา ที่นี้ของอาจารย์ของพวกเรา ที่นี้ของพวกเรา
จริงหรือ.
ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียน ... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถา
รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ของที่เขาทำเจาะจง ภิกษุก็
ไม่พึงเกียดกันตามลำดับผู้แก่กว่า รูปใดเกียดกัน ต้องอาบัติทุกกฎ.
[๒๖๗] สมัยนั้น ชาวบ้านตกแต่งที่นอนสูงที่นอนใหญ่ไว้ในโรง-
อาหาร ณ ละแวกบ้าน คือ เก้าอี้นอน เตียงใหญ่ ผ้าโกเชาว์ขนยาว เครื่องลาด
ที่ทำด้วยขนแกะวิจิตรด้วยลวดลาย เครื่องลาดที่ทำด้วยขนแกะสีขาว เครื่องลาด
ที่มีสัณฐานเป็นช่อดอกไม้ เครื่องลาดที่ยัดนุ่น เครื่องลาดพรมขนแกะวิจิตร
ด้วยรูปสัตว์ร้ายมีสีหะและเสือเป็นต้น เครื่องลาดขนแกะมีขนตั้ง เครื่องลาด
ขนแกะมีขนข้างเดียว เครื่องลาดทองและเงินแกมไหม เครื่องลาดไหมขลิบทอง
และเงิน เครื่องลาดขนแกะจุนางฟ้อน ๑๖ คน เครื่องลาดหลังช้าง เครื่องลาด
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 49/274/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปรากฏ เมื่อเราให้อยู่ ไทยธรรมไม่พึงสิ้นไป ครั้น
เราให้ทานนั้นแล้ว ไม่พึงเดือดร้อนในภายหลัง
เมื่อกำลังให้อยู่ พึงยังจิตให้เลื่อมใส ข้าพเจ้าพึง
ขอพรกะท้าวสักกะอาทิผิด สระอย่างนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า กาลุฏฺฐิตสฺส เม สโต ความว่า
เมื่อข้าพเจ้าลุกขึ้นในเวลาเช้า เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยความเพียร คือ
ความหมั่นด้วยอำนาจสามีจิกรรม มีการนอบน้อมและการปรนนิบัติ
เป็นต้น ต่อพระทักขิไณยบุคคลทั้งหลาย ผู้มีความต้องการ. บทว่า
สูริยุคฺคมนํ ปติ แปลว่า ในเวลาพระอาทิตย์ขึ้นไป. บทว่า ทิพฺพา
ภกฺขา ปาตุภเวยฺยุํ ความว่า อาหารอันนับเนื่องในเทวโลก พึง
เกิดขึ้น. บทว่า สีลวนฺโต จ ยาจกา ความว่า และพวกยาจก
พึงเป็นผู้มีศีล มีกัลยาณธรรม.
บทว่า ททโต เม น ขีเยถ ความว่า ก็เมื่อเราให้ทานแก่ผู้ที่
มาแล้ว ๆ ไทยธรรมย่อมไม่สิ้นไป คือ ไม่ถึงความหมดเปลือง.
บทว่า ทตฺวา นานุปเตยฺยหํ ความว่า ก็เพราะเหตุนั้น เราให้ทาน
นั้นแล้ว เห็นคนบางคนไม่มีความเลื่อมใส จึงไม่เดือดร้อน ในภายหลัง.
บทว่า ททํ จิตฺตํ ปสาเทยฺยํ ความว่า เมื่อเราให้อยู่ เราก็พึงทำจิต
ให้เลื่อมใส คือเราเป็นผู้มีจิตเลื่อมใสแล้วนั่นแหละ พึงให้ทาน. บทว่า
เอตํ สกฺกํ วรํ วเร ความว่า เราพึงขอพรกะท้าวสักกะจอมเทพ
๕ อย่างนี้คือ ความสมบูรณ์ด้วยความไม่มีโรค ความสมบูรณ์ด้วย
ไทยธรรม ความสมบูรณ์ด้วยพระทักขิไณยบุคคล ความสมบูรณ์
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 62/618/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
และชาย พระองค์เสวยเนื้อมนุษย์เป็นความจริงหรือ
พระเจ้าข้า.
[๓๒๐] จริงอย่างนั้นแหละ ท่านกาฬหัตถี เรา
ใช้พนักงานวิเศษ เมื่อเขาทำกิจเพื่อเรา ท่านบริภาษเขา
ทำไมอาทิผิด .
[๓๒๑] ปลาอานนท์ซึ่งติดอยู่ในรสของปลา
ทุกชนิด กินปลาจนหมด เมื่อบริษัทหมดไป กิน
ตัวเองตาย พระองค์เป็นผู้ประมาทแล้ว ยินดีหนักใน
รส ถ้ายังเป็นพาลไม่ทรงรู้สึกต่อไป จำจะต้องละทิ้ง
พระโอรส พระมเหสี และพระประยูรญาติ กับเสวย
พระองค์เอง เหมือนปลาอานนท์ฉะนั้น เพราะได้
ทรงสดับเรื่องนี้ ขอความพอพระทัยของพระองค์จง
คลายไป ข้าแต่พระราชาผู้เป็นใหญ่ กว่าอาทิผิด สระมนุษย์ อย่า
ได้โปรดเสวยเนื้อมนุษย์เลย อย่าได้ทรงทำแว่นแคว้น
นี้ให้ว่างเปล่าเหมือนปลาฉะนั้นเลย.
[๓๒๒] กุฎุมพีนามว่าสุชาต โอรสผู้เกิดแต่ตน
ของเขาไม่ได้ชิ้นอาทิผิด ชมพู่ เขาตายเพราะชิ้นชมพู่สิ้นอาทิผิด อาณัติกะไป
ฉันใด ดูก่อนท่านกาฬหัตถี เราก็ฉันนั้น ได้บริโภค
อาหารอันมีรสสูงสุดแล้ว ไม่ได้เนื้อมนุษย์ เห็นจัก
ต้องละชีวิตเป็นแน่.
[๓๒๓] ดูก่อนมาณพ เจ้าเป็นผู้มีรูปงาม เกิด
ในตระกูลพราหมณ์โสตถิยะ เจ้าไม่ควรกินสิ่งที่ไม่
ควรกินนะพ่อ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/240/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า เวรมฺภวาตา (ลมบน)* ได้แก่ ลมพัดไปเกินหนึ่งโยชน์.
บทว่า ปกฺขวาตา (ลมกระพือปีก) ได้แก่ ลมที่ตั้งขึ้นแก่การ
กระพือปีกโดยที่สุดแม้แมลงวัน.
บทว่า สุปณฺณวาตา ได้แก่ ลมครุฑ แม้ลมครุฑนี้จะเป็นลมเกิด
แต่ปีกก็จริง ถึงอย่างนั้น ท่านก็ถือไว้ส่วนหนึ่งด้วยสามารถเป็นลมแรง.
บทว่า ตาลวณฺฑวาตา (ลมใบตาล) ได้แก่ ลมที่เกิดแต่ใบตาล
หรือวัตถุมีสัณฐานกลมอย่างใดอย่างหนึ่ง.
บทว่า วธูปนวาตา (ลมใบพัด) ได้แก่ ลมที่เกิดขึ้นด้วยใบพัด
ก็ลมที่เกิดแต่ใบตาล และลมใบพัดเหล่านั้น ย่อมยังลมแม้ไม่เกิดให้อาทิผิด เกิด นี้
แม้ที่เกิดแล้วก็ให้เปลี่ยนไป.
ในบทว่า ยํ วา ปน นี้ ได้แก่ ลมที่เหลือ เว้นลมที่มาในบาลี
แล้วรวมเข้าในฐานะเป็นเยวาปนกนัย.
นิเทศอากาสธาตุภายใน
พึงทราบวินิจฉัยนิเทศอากาสธาตุ ต่อไป
ที่ชื่อว่า อากาส เพราะอรรถว่า ย่อมไถไม่ได้ โดยอรรถว่ากระทบ
ไม่ได้ อากาสนั่นเอง ชื่อว่า อากาสคตํ (ธรรมชาติอันนับว่าอากาส)
เพราะถึงภาวะเป็นอากาสอาทิผิด อักขระ. ที่ชื่อว่า อฆํ (ความว่างเปล่า) เพราะเป็นสิ่งที่
กระทบไม่ได้. บทว่า วิวโร (ช่องว่าง) ได้แก่ ช่องในระหว่าง ช่องว่าง
นั้นนั่นเองชื่อว่า ววรคตํ (ธรรมชาติอันนับว่าช่องว่าง). บทว่า อสมฺผุฏฐํ
มํสโลหิเตหิ (ที่อันเนื้อและเลือดไม่ถูกต้อง) ได้แก่ ที่อันเนื้อและเลือดไม่
* คำอาทิผิด สระว่า เวรมฺภวาตา หมายถึงลมพายุใหญ่
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 29/188/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คนใดอุตสาหะพยายามในสงคราม คนอื่นฆ่าผู้นั้นซึ่งกำลังอุตสาหะพยายาม
ให้ถึงความตาย ทหารม้าผู้นั้นเมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายของ
เทวดาเหล่าสรชิต ดังนี้ ไซร้ ความเห็นของเขานั้นเป็นความเห็นผิด แน่ะ.
นาย ก็เรากล่าวคติ ๒ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ นรกหรือกำเนิด
สัตว์เดียรัจฉาน ของบุคคลผู้มีความเห็นผิด.
[๕๙๗] เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้แล้ว นายทหารม้า
ร้องไห้ น้ำตาไหล พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า แน่ะนาย เราได้ห้ามท่าน
อย่างนี้แล้วมิใช่หรือว่า อย่าเลยนาย ของดข้อนี้เสียเถิด อย่าถามเราถึง
ข้อนี้เลย เขาทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์มิได้ร้องไห้ถึงข้อที่
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสกะข้าพระองค์หรือก็ แต่ว่าข้าพระองค์ถูกทหารม้า
ทั้งอาจารย์และปาจารย์ก่อน ๆ ลวงให้หลงสิ้นกาลนานว่า ทหารม้าคนใด
อุตสาหะพยายามในสงคราม คนอื่นฆ่าผู้นั้นซึ่งกำลังอุตสาหะพยายามให้ถึง
ความตาย ทหารม้าผู้นั้นเมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายของเทวดา
เหล่าสรชิต ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระธรรมเทศนาของพระองค์แจ่มแจ้ง
นัก ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระธรรมเทศนาของพระองค์แจ่มแจ้งนัก
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยาย ดุจหงายของที่คว่ำ
เปิดของที่ปิด บอกทางให้แก่คนหลงทาง หรือส่องไฟในที่มืดอาทิผิด สระด้วยหวังว่า
คนมีจักษุจักได้เห็นรูป ฉะนั้น ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์นี้ขอถึงอาทิผิด
พระผู้มีพระภาคเจ้ากับทั้งพระธรรมและภิกษุสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอพระผู้มี-
พระภาคเจ้าโปรดทรงจำข้าพระองค์ว่าเป็นอุบาสกผู้ถึงพระรัตนตรัยเป็น
สรณะ จนตลอดชีวิต ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป.
จบ อัสสาโรหสูตรที่ ๕
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/216/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ช่วยพยาบาลอันเตวาสิกหรือสัทธิวิหาริกผู้อาพาธ, เป็นผู้สามารถระงับเองหรือ
ให้ผู้อื่นช่วยระงับความกระสันของอันเตวาสิกหรือสัทธิวิหาริก เป็นผู้สามารถ
บรรเทาเองหรือให้ผู้อื่นช่วยบรรเทาความรังเกียจ ซึ่งเกิดขึ้นแล้วเสียโดยธรรม,
เป็นผู้สามารถอาทิผิด อักขระแนะนำในอภิธรรม แนะนำในอภิวินัย.๑
ว่าด้วยทรงอนุญาตนิสยาจารย์
บทว่า ปกฺขสงฺกนฺเตสุ ได้แก่ ไปเข้าพวกเดียรถีย์.
ข้อว่า อนุชานามิ ภิกฺขเว อาจริยํ มีความว่า เราอนุญาตอาจารย์
ผู้ฝึกหัดอาทิผิด อักขระอาจาระและสมาจาร.
คำทั้งปวงเป็นอาทิผิด สระต้นว่า อาจริโย ภิกฺขเว อนฺเตวาสิกมฺหิ พึงทราบ
ด้วยอำนาจคำที่ กล่าวแล้วโดยนัยเป็นต้นว่า อุปชฺฌาโย ภิกฺขเว สทฺธิ-
วิหารริกมฺหิ นั่นแล. เพราะว่า ในคำว่า อาจริโย เป็นต้น ต่างกันแต่เพียง
ชื่อเท่านั้น.
ส่วนในคำว่า อันเตวาสิกอาทิผิด อักขระทั้งหลายไม่พระพฤติชอบในอาจารย์ทั้งหลาย
นี้ผู้ศึกษาพึงทราบว่า เป็นอาบัติแก่นิสสยันเตวาสิก โดยลักษณะที่ข้าพเจ้า
กล่าวไว้แล้วในหนหลังนั้นแลว่า ก็ในการไม่ประพฤติชอบ มีวินิจฉัยดังนี้:-
เมื่อสัทธิวิหาริกไม่ทำวัตรเพียงย้อมจีวร ความเสื่อมย่อมมีแก่อุปัชฌาย์ เพราะ
เหตุนั้น จึงเป็นอาบัติเหมือนกันทั้งผู้พ้นนิสัยแล้ว ทั้งผู้ยังไม่พ้น ซึ่งไม่ทำวัตร
นั้นและว่า ตั้งแต่ให้บาตรแก่คนบางคนไป เป็นอาบัติแก่ผู้ยังไม่พ้น นิสัยเท่านั้น
เพราะว่านิสสยันเตวาสิก ควรทำอาจริยวัตรทั้งปวง เพียงเวลาที่ตนอาศัย
อาจารย์อยู่. ฝ่ายปัพพชันเตวาสิก อุปสัมปทันเตวาสิกและธัมมันเตวาสิกแม้พ้น
๑. ดูคำอาทิผิด อักขระอธิบายหน้า ๒๓๒.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 26/714/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๑๐. อัณฑภารีสูตร
ว่าด้วยบุรุษมีอัณฑะเท่าหม้อ
[๖๔๙] ฯ ล ฯ ท่านพระมหาโมคคัลลานะได้ตอบว่า เมื่อผมลงมา
จากภูเขาอาทิผิด อักขระคิชฌกูฏ ได้เห็นบุรุษมีอัณฑะใหญ่เท่าหม้อลอยอยู่ในเวหาส บุรุษ
นั้นแม้เมื่อเดินไปก็แบกอัณฑะนั้นไว้บนบ่า แม้เมื่อนั่งก็ทับอัณฑะนั้นแหละ
แร้งบ้าง กาบ้าง พญาแร้งบ้าง ต่างก็โผถลาตามจิกทึ้งอาทิผิด อักขระบุรุษนั้น ได้ยินว่า
บุรุษนั้นส่งเสียงร้องครวญคราง ฯ ล ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์นี้ได้
เป็นผู้พิพากษาตัดสินอรรถคดีโกง อยู่ในกรุงราชคฤห์นี้เอง ฯ ล ฯ.
จบอัณฑภารีสูตรที่ ๑๐
จบปฐมวรรคที่ ๑๐
รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. อัฏฐิสูตร ๒. เปสิสูตร ๓. ปิณฑสูตร
๔. นิจฉวิสูตร ๕. อสิสูตร ๖. สัตติสูตร
๗. อุสุสูตร ๘. ปฐมสูจิสูตร ๙. ทุติยสูจิสูตร
๑๐. อัณฑภารีสูตร.
อรรถกถาอัณฑภารีสูตรที่ ๑๐
ในเรื่องบุรุษมีอัณฑะเท่าหม้อ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
บทว่า คามกูโฏ ได้แก่อำมาตย์ผู้วินิจฉัยคดี เพราะเขามีส่วนเสมอ
กับกรรม จึงมีอัณฑะประมาณเท่าหม้อ คือขนาดหม้อใหญ่. เพราะเขารับ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 63/111/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มหาชนก็โห่ร้องเซ็งแซ่ถวายสาธุการสรรเสริญพระปัญญา รู้สึกปีติ
โสมนัสว่า ชนทั้งหลายเที่ยวอาทิผิด อาณัติกะขุด ณ ทิศที่ดวงอาทิตย์ขึ้น เพราะปัญหากล่าวว่า
ที่ดวงอาทิตย์ขึ้น และเที่ยวขุดในทิศที่ดวงอาทิตย์ตก เพราะปัญหากล่าวว่าที่
ดวงอาทิตย์ตก แต่ขุมทรัพย์มีอยู่ในที่นี้เอง โอ อัศจรรย์หนอ แปลกหนอ
พระมหาสัตว์ตรัสให้ขุดนำขุมทรัพย์มาแต่ภายในธรณีอาทิผิด อักขระ แห่งพระทวารใหญ่ของ
พระราชฐานได้ เพราะปัญหาว่าขุมทรัพย์ภายใน ให้ขุดนำขุมทรัพย์มาแต่ภาย
นอกธรณีแห่งพระทวารใหญ่ของพระราชฐานได้ เพราะปัญหาว่าขุมทรัพย์ภาย
นอก ให้ขุดนำขุมทรัพย์มาแต่ข้างล่างพระธรณี แห่งพระทวารใหญ่ของพระ-
ราชฐานได้ เพราะปัญหาว่า ขุมทรัพย์ไม่ใช่ภายในไม่ใช่อาทิผิด ภายนอก ให้ขุดนำ
ขุมทรัพย์มาแต่ที่เกยทอง ในเวลาเสด็จขึ้นประทับมงคลหัตถีได้ เพราะปัญหา
ว่าขุมทรัพย์ขาขึ้น ให้ขุดนำขุมทรัพย์มาแต่ที่เสด็จลงจากคอช้างได้ เพราะ
ปัญหาว่าขุมทรัพย์ขาลง ให้ขุดนำหม้อทรัพย์ทั้งสี่หม้อมาแต่ภายใต้ต้นรังทั้งสี่
แห่ง อันเป็นเท้าพระแท่นบรรทม อันเป็นสิริซึ่งตั้งขึ้นมาแต่พื้นดินได้ เพราะ
ปัญหาว่า ขุมทรัพย์ทั้งสี่ ให้ขุดนำอาทิผิด อาณัติกะหม้อทรัพย์ทั้งหลายมาแต่ที่ประมาณชั่วแอก
โดยรอบพระที่สิริไสยาสน์ โดยวิธีนับชั่วแอกรถประมาณโยชน์หนึ่งได้ เพราะ
ปัญหาว่าขุมทรัพย์ในที่โยชน์หนึ่งโดยรอบ ให้ขุดหม้อทรัพย์ทั้งสองในสถานที่
มงคลหัตถี แต่ที่เฉพาะหน้าแห่งงาทั้งสองแห่งช้างนั้นมาอาทิผิด อักขระได้ เพราะปัญหาว่า
ขุมทรัพย์ใหญ่ที่ปลายงาทั้งสอง ให้ขุดขุมทรัพย์ในสถานที่มงคลหัตถีแห่งที่
เฉพาะหน้าแห่งปลายหางของช้างนั้นมาได้ เพราะปัญหาว่า ขุมทรัพย์ที่ปลาย
หาง ให้วิดน้ำในสระมงคลโบกขรณีแสดงขุมทรัพย์ เพราะปัญหาว่าขุมทรัพย์
ที่น้ำ ให้ขุดหม้อขุมทรัพย์มาแต่ภายในเงาไม้รัง มีปริมณฑลเวลาเที่ยงวัน
ตรงที่โคนไม้รังใหญ่ในพระราชอุทยานได้ เพราะปัญหาว่าขุมทรัพย์ใหญ่ที่
ปลายไม้ พระราชาให้นำขุมทรัพย์ใหญ่ทั้งสิบหกมาได้แล้ว ตรัสถามว่า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/539/23 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ที่ ๕ ของไตรเพทนั้น เพราะนับอาถรรพเวทเป็นที่ ๔ เหตุนั้น ไตรเพทนั้น
จึงชื่อว่า มีคัมภีร์ว่าด้วยพงศาวดารเป็นที่ ๕. มีศาสตร์ว่าด้วยพงศาวดารเป็น
ที่ ๕ เหล่านั้น. ผู้ใดย่อมศึกษาและเล่าเรียนบทของเวทและการพยากรณ์
อันเป็นพิเศษ ผู้นั้นชื่อว่าผู้ศึกษาเวท และชำนาญการพยากรณ์. ศาสตร์
ว่าด้วยคำพูดเล่น ๆ ท่านเรียกว่า โลกายตะ. บทว่า ลักษณะของมหาบุรุษ
ได้แก่ศาสตร์อันมีปริมาณคัมภีร์ถึง ๑๒,๐๐๐ ที่แสดงลักษณะของมหา-
บุรุษ มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ที่ชื่อว่าเป็นพุทธมนต์ ซึ่งมีปริมาณบทคาถา
ถึง ๑๖,๐๐๐ มีปรากฏข้อแตกต่างกันดังนี้ คือ ผู้ประกอบด้วยลักษณะนี้
ชื่อว่าเป็นพระพุทธเจ้า เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า เป็นพระอัครสาวกทั้ง ๒
เป็นพระมหาสาวก ๘๐ เป็นพระพุทธมารดา เป็นพระพุทธบิดา เป็น
อัครอุปฐาก เป็นอัครอุปฐายิกา เป็นพระราชา เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ.
บทว่า ผู้เต็มเปี่ยม คือไม่บกพร่องในมหาบุรุษลักษณะอันเป็น
โลกายตะเหล่านี้ ได้แก่เรียนมาอย่างพร้อมมูล อธิบายว่า ไม่มีความ
ตกหล่นเลย. ผู้ใดไม่สามารถที่จะทรงจำไว้ได้โดยใจความ และโดยคัมภีร์
ซึ่งมหาบุรุษลักษณะเหล่านั้น ผู้นั้นชื่อว่ายังบกพร่อง. บทว่า อนุญฺาต-
ปฏิญฺญาโต แปลว่า ผู้อันอาจารย์ยอมรับและรับรองแล้ว อธิบายว่า
ผู้อันอาจารย์ยอมรับแล้ว โดยนัยเป็นต้นว่า เรารู้สิ่งใด ท่านก็รู้สิ่งนั้นแล้ว
ตนก็รับรองแล้ว ด้วยคำปฏิญาณคือการให้คำตอบแก่อาจารย์นั้นว่า ขอรับ
อาจารย์. ในเรื่องอะไร. ในคำสอนที่ประกอบด้วยวิชา ๓ อันเป็นของ
อาจารย์ของตน.
ได้ยินว่า พราหมณ์นั้นคิดว่า ในโลกนี้ชนเป็นอันมากพากันเที่ยว
พูดถึงนามของบุคคลผู้สูงสุดว่า เราเป็นพระพุทธเจ้า เราเป็นพระพุทธเจ้า
เพราะฉะนั้น การที่เราจะเข้าไปเฝ้าโดยเหตุเพียงได้ยินเขาเล่าลืออาทิผิด สระกันมาหา
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 1/176/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เหตุนั้น พึงเห็นเนื้อความในบทว่า เตน สมเยน นี้ อย่างนี้ว่า ความรำพึง
เป็นเหตุทูลวิงวอนอาทิผิด อักขระให้ทรงบัญญัติเกิดขึ้นแก่ท่านพระสารีบุตร โดยกาลใด
โดยกาลนั้น
ในบทว่า เตน สมเยน นี้ โจทก์ท้วงว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น เหตุไร
ในวินัยนี้ จึงทำนิเทศด้วยตติยวิภัตติว่า เตน สมเยน ไม่ทำด้วยทุติยาวิภัตติ
ว่า เอกํ สมยํ เหมือนในสุตตันตะอาทิผิด อักขระ และด้วยสัตตมีวิภัตติว่า ยสฺมึ สมเย
กามาวจรํ เหมือนในอภิธรรมเล่า ? เฉลยว่า เพราะความสมกับใจความโดย
ประการอย่างนั้น ในสุตตันตะและอภิธรรมนั้น และเพราะความสมกับใจความ
โดยประการอื่นในวินัยนี้ สมกับใจความอย่างไร ? สมยศัพท์มีอัจจันตสังโยค
เป็นอรรถ เหมาะในสุตตันตะก่อน. จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จอยู่ด้วย
กรุณาวิหารตลอดที่สุดสมัยที่ทรงแสดงพระสุตตันตะทั้งหลาย มีพรหมชาลสูตร
เป็นต้นทีเดียว เพราะเหตุนั้น ในสุตตันตะนั้นท่านจึงทำอุปโยคนิเทศ เพื่อ
ส่องเนื้อความนั้น. ก็แล สมยศัพท์มีอธิกรณะเป็นอรรถ และความกำหนด
ภาวะด้วยภาวะเป็นอรรถ ย่อมเหมาะ ในอภิธรรม. จริงอยู่ สมยศัพท์มีกาละ
เป็นอรรถและมีสมุหะเป็นอรรถ เป็นอธิกรณ์แห่งธรรมทั้งหลายมีผัสสะเป็นต้น
ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสในอภิธรรมนั้น ภาวะแห่งธรรมเหล่านั้น อันท่าน
ย่อมกำหนดด้วยความมีแห่งสมัย กล่าวคือ ขณะ สมวายะ และเหตุ เพราะ
เหตุนั้น ในอภิธรรมนั้น ท่านจึงทำนิเทศด้วยสัตตมีวิภัตติ เพื่อส่องเนื้อความ
นั้น. ส่วนในวินัยนี้ สมยศัพท์มีเหตุเป็นอรรถและมีกรณะเป็นอรรถจึงสมกัน.*
* พระราชกวี มานิต ถาวโร ป.ธ.๙ วัดสัมพันธวงศ์แปล.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 45/677/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อิธ ความว่า ในโลกนี้. อธิบายว่า
มนุษย์ผู้เป็นบัณฑิตทั้งหลาย จะสรรเสริญ คือ ยกย่อง ได้แก่ ชมเชย บุคคล
ผู้อุปฐากอาทิผิด อักขระมารดาบิดา ด้วยการบำรุงบำเรอท่าน และเอาเขาเป็นทิฏฐานุคติ
(เป็นเยี่ยงอย่าง) แม้ตนเอง ก็ปฏิบัติในมารดาบิดาของตนอย่างนั้นแล้ว ย่อม
ประสบบุญมากมาย. บทว่า เปจฺจ ความว่า ผู้บำรุงมารดาบิดาไปสู่ปรโลก
แล้ว สถิตอยู่ในสวรรค์ ย่อมจะรื่นเริงบันเทิงอาทิผิด สระเพลิดเพลินใจ ด้วยทิพยสมบัติ
ทั้งหลาย.
จบอรรถกถาพรหมสูตรที่ ๗
๘. พหุการสูตร
ว่าด้วยผู้มีอุปการะมาก
[๒๘๗] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลายเป็นผู้มี
อุปการะมากแก่เธอทั้งหลาย บำรุงเธอทั้งหลายด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ
และคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร แม้เธอทั้งลายก็จงเป็นผู้มีอุปการะมากแก่พราหมณ์
และคฤหบดีทั้งหลาย จงแสดงธรรมอันงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง
งามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะ
บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิงแก่พราหมณ์และคฤหบดีเหล่านั้นเถิด ดูก่อนภิกษุ-
ทั้งหลาย คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้งหลาย ต่างอาศัยซึ่งกันและกันด้วยอำนาจ
อามิสทานและธรรมทาน อยู่ประพฤติพรหมจรรย์นี้ เพื่อต้องการสลัดโอฆะ
เพื่อจะทำซึ่งที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบด้วยประการอย่างนี้.
พระปิฎกธรรม