星期三, 七月 17, 2019

Akat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 77/240/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บทว่า เวรมฺภวาตา (ลมบน)* ได้แก่ ลมพัดไปเกินหนึ่งโยชน์.
บทว่า ปกฺขวาตา (ลมกระพือปีก) ได้แก่ ลมที่ตั้งขึ้นแก่การ
กระพือปีกโดยที่สุดแม้แมลงวัน.
บทว่า สุปณฺณวาตา ได้แก่ ลมครุฑ แม้ลมครุฑนี้จะเป็นลมเกิด
แต่ปีกก็จริง ถึงอย่างนั้น ท่านก็ถือไว้ส่วนหนึ่งด้วยสามารถเป็นลมแรง.
บทว่า ตาลวณฺฑวาตา (ลมใบตาล) ได้แก่ ลมที่เกิดแต่ใบตาล
หรือวัตถุมีสัณฐานกลมอย่างใดอย่างหนึ่ง.
บทว่า วธูปนวาตา (ลมใบพัด) ได้แก่ ลมที่เกิดขึ้นด้วยใบพัด
ก็ลมที่เกิดแต่ใบตาล และลมใบพัดเหล่านั้น ย่อมยังลมแม้ไม่เกิดให้อาทิผิด เกิด นี้
แม้ที่เกิดแล้วก็ให้เปลี่ยนไป.
ในบทว่า ยํ วา ปน นี้ ได้แก่ ลมที่เหลือ เว้นลมที่มาในบาลี
แล้วรวมเข้าในฐานะเป็นเยวาปนกนัย.

นิเทศอากาสธาตุภายใน
พึงทราบวินิจฉัยนิเทศอากาสธาตุ ต่อไป
ที่ชื่อว่า อากาส เพราะอรรถว่า ย่อมไถไม่ได้ โดยอรรถว่ากระทบ
ไม่ได้ อากาสนั่นเอง ชื่อว่า อากาสคตํ (ธรรมชาติอันนับว่าอากาส)
เพราะถึงภาวะเป็นอากาสอาทิผิด อักขระ. ที่ชื่อว่า อฆํ (ความว่างเปล่า) เพราะเป็นสิ่งที่
กระทบไม่ได้. บทว่า วิวโร (ช่องว่าง) ได้แก่ ช่องในระหว่าง ช่องว่าง
นั้นนั่นเองชื่อว่า ววรคตํ (ธรรมชาติอันนับว่าช่องว่าง). บทว่า อสมฺผุฏฐํ
มํสโลหิเตหิ (ที่อันเนื้อและเลือดไม่ถูกต้อง) ได้แก่ ที่อันเนื้อและเลือดไม่
* คำอาทิผิด สระว่า เวรมฺภวาตา หมายถึงลมพายุใหญ่
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: