Wing Won
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 1/176/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เหตุนั้น พึงเห็นเนื้อความในบทว่า เตน สมเยน นี้ อย่างนี้ว่า ความรำพึง
เป็นเหตุทูลวิงวอนอาทิผิด อักขระให้ทรงบัญญัติเกิดขึ้นแก่ท่านพระสารีบุตร โดยกาลใด
โดยกาลนั้น
ในบทว่า เตน สมเยน นี้ โจทก์ท้วงว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น เหตุไร
ในวินัยนี้ จึงทำนิเทศด้วยตติยวิภัตติว่า เตน สมเยน ไม่ทำด้วยทุติยาวิภัตติ
ว่า เอกํ สมยํ เหมือนในสุตตันตะอาทิผิด อักขระ และด้วยสัตตมีวิภัตติว่า ยสฺมึ สมเย
กามาวจรํ เหมือนในอภิธรรมเล่า ? เฉลยว่า เพราะความสมกับใจความโดย
ประการอย่างนั้น ในสุตตันตะและอภิธรรมนั้น และเพราะความสมกับใจความ
โดยประการอื่นในวินัยนี้ สมกับใจความอย่างไร ? สมยศัพท์มีอัจจันตสังโยค
เป็นอรรถ เหมาะในสุตตันตะก่อน. จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จอยู่ด้วย
กรุณาวิหารตลอดที่สุดสมัยที่ทรงแสดงพระสุตตันตะทั้งหลาย มีพรหมชาลสูตร
เป็นต้นทีเดียว เพราะเหตุนั้น ในสุตตันตะนั้นท่านจึงทำอุปโยคนิเทศ เพื่อ
ส่องเนื้อความนั้น. ก็แล สมยศัพท์มีอธิกรณะเป็นอรรถ และความกำหนด
ภาวะด้วยภาวะเป็นอรรถ ย่อมเหมาะ ในอภิธรรม. จริงอยู่ สมยศัพท์มีกาละ
เป็นอรรถและมีสมุหะเป็นอรรถ เป็นอธิกรณ์แห่งธรรมทั้งหลายมีผัสสะเป็นต้น
ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสในอภิธรรมนั้น ภาวะแห่งธรรมเหล่านั้น อันท่าน
ย่อมกำหนดด้วยความมีแห่งสมัย กล่าวคือ ขณะ สมวายะ และเหตุ เพราะ
เหตุนั้น ในอภิธรรมนั้น ท่านจึงทำนิเทศด้วยสัตตมีวิภัตติ เพื่อส่องเนื้อความ
นั้น. ส่วนในวินัยนี้ สมยศัพท์มีเหตุเป็นอรรถและมีกรณะเป็นอรรถจึงสมกัน.*
* พระราชกวี มานิต ถาวโร ป.ธ.๙ วัดสัมพันธวงศ์แปล.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论