星期四, 八月 01, 2019

Trong

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 47/145/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ดังนี้ก่อน นี้คือการอธิบายบทแห่งพระคาถานี้. ส่วนการอธิบายเนื้อความแห่ง
พระคาถานั้น ผู้ศึกษาพึงทราบอย่างนี้.
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงสดับคำของเทพบุตรนี้ อย่างนี้แล้ว จึง
ตรัสพระคาถานี้ว่า อเสวนา จ พาลานํ การไม่คบคนพาลทั้งหลาย
ดังนี้เป็นต้น.
ในข้อนี้มีกถา (ถ้อยคำที่ควรพูด) อยู่ ๔ ประการดังนี้คือ ปุจฉิตกถา ๑
อปุจฉิตกถา ๑ สานุสันธิกถา ๑ อนนุสันธิกถา ๑.
ในถ้อยคำทั้ง ๔ ประเภทนั้น ถ้อยคำที่พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อมีผู้
ทูลถามในปัญหาทั้งหลายมีอาทิอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระโคดม ผู้มีปัญญาดุจแผ่นดิน
ข้าพระองค์ขอทูลถามพระองค์ว่า ผู้ฟัง ทำอย่างไร จึงชื่อว่า เป็นผู้ฟังที่ดี
และว่า ข้าแต่ท่านผู้นิรทุกข์ ท่านข้ามโอฆะได้อย่างไรหนอ ดังนี้ ตรัสตอบ
แล้ว ชื่อว่า ปุจฺฉิตกถา.
ถ้อยคำที่พระองค์ซึ่งไม่มีผู้ทูลถาม ปัญหาทั้งหลายมีอาทิอย่างนี้ว่า
สิ่งใดที่ชนพวกอื่นกล่าวว่าเป็นสุข สิ่งนั้นพระอริยเจ้ากล่าวว่าเป็นทุกข์ ดังนี้
ตรัสแล้ว ด้วยสามารถอัธยาศัยของตน (ผู้ฟัง) เท่านั้น ชื่อว่า อปุจฺฉิตกถา.
พระดำรัสของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย แม้ทั้งปวงชื่อว่า สานุสนฺธิกถา
เพราะอาทิผิด สระ พระบาลีว่า ภิกษุทั้งหลายเราจะแสดงธรรมที่มีเหตุซึ่งผู้ฟังอาจตรองอาทิผิด อักขระตาม
ให้เห็นจริงได้.
อนนุสนฺธิกถา (ถ้อยคำที่พูดขึ้นมาโดยไม่มีเหตุผล) ไม่มีใน
ศาสนานี้.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: