星期四, 十月 31, 2019

Sandot

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์  2/8/12  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ก็สมัยนั้นแล มหาอำมาตย์ผู้พิพากษาเก่าคนหนึ่งบวชในหมู่ภิกษุ นั่ง
อยู่ไม่ห่างพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงพระองค์ได้ตรัสพระวาจานี้ต่อภิกษุรูปนั้นว่า
ดูก่อนภิกษุ พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชจับโจรได้แล้ว ประหารชีวิต
เสียบ้าง จองจำไว้บ้าง เนรเทศเสียบ้าง เพราะทรัพย์ประมาณเท่าไรหนอ
ภิกษุรูปนั้นกราบทูลว่า เพราะทรัพย์บาทหนึ่งบ้าง เพราะของควรค่า
บาทหนึ่งบ้าง เกินบาทหนึ่งบ้าง พระพุทธเจ้าข้า
แท้จริงสมัยนั้น ทรัพย์ ๕ มาสกในกรุงราชคฤห์ เป็นหนึ่งบาท
ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระธนิยะ กุมภการบุตร โดย
อเนกปริยายแล้วจึงตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก
ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน
ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย ความ
สันโดษอาทิผิด อักขระ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม
การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย แล้วทรงกระทำธรรมีกถา ที่สมควร
แก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุ
ทั้งหลายว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุ
ทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑
เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุ
ผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัด
อาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑
เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัท-
ธรรม ๑ เพื่อถือตามพระวินัย ๑
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 十月 30, 2019

But

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/70/12  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สำนักพระผู้มีพระภาคเจ้า พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมา
เถิด ดังนี้ แล้วได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติ
พรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.
พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น.
ต่อมาพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประทานโอวาทสั่งสอนภิกษุเหล่านั้นด้วย
ธรรมีกถา เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประทานโอวาทสั่งสอนภิกษุเหล่านั้นด้วย
ธรรมีกถา จิตของภิกษุเหล่านั้น พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น.
สมัยนั้น มีพระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก ๑๑ องค์.
สหายคฤหัสถ์ ๔ คน ของพระยสบรรพชา จบ

สหายคฤหัสถ์ ๕๐ คน ของพระยสบรรพชา
[๓๑] สหายคฤหัสถ์ของท่านพระยส เป็นชาวชนบทจำนวน ๕๐ คน
เป็นบุตรของสกุลเก่าสืบ ๆ กันมา ได้ทราบข่าวว่า ยสกุลบุตรอาทิผิด สระปลงผมและหนวด
นุ่งห่มผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตแล้ว ครั้นทราบดังนั้นแล้ว
ได้ดำริว่า ธรรมวินัยและบรรพชาอาทิผิด ที่ยสกุลบุตรปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้า
กาสายะออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตแล้วนั้น คงไม่ต่ำทรามแน่นอน ดังนี้
จึงพากันเข้าไปหาท่านพระยส อภิวาทแล้วได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง จึง
ท่านพระยสพาสหายคฤหัสถ์จำนวน ๕๐ คนนั้นเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ถวาย
บังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งได้กราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า สหาย-
คฤหัสถ์ของข้าพระองค์นี้เป็นชาวชนบท เป็นบุตรของสกุลเก่าสืบ ๆ กันมา
ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าโปรดประทานโอวาทสั่งสอนสหายของข้าพระองค์เหล่านี้.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 十月 27, 2019

Chonnabot

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 28/119/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ภิ. อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. ดีละ ภิกษุ ก็ในข้อนั้น ใจจักเป็นอันเธอพิจารณาเห็นด้วยดี
ด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็น
นั่น นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา ผัสสายตนะที่ ๖ นี้ จักเป็นอันเธอละขาด
แล้ว เพื่อความไม่เกิดอีกต่อไป ด้วยอาการอย่างนี้ ดูก่อนปุณณะ ดีละ
เธออันเรากล่าวสอนแล้วด้วยโอวาทย่อนี้ จักอยู่ในชนบทไหน.
ท่านพระปุณณเถระทูลว่า พระเจ้าข้า ชนบทชื่อสุนาปรันตะมีอยู่
ข้าพระองค์จักอยู่ในชนบทอาทิผิด อักขระนั้น.
ว่าด้วยมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทเป็นผู้ดุร้ายเป็นประจำ
[๑๑๕] พ. ดูก่อนปุณณะ พวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทดุร้าย
หยาบคายนัก ถ้าพวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทจักด่า จักบริภาษเธอ
ในข้อนั้น เธอจักมีความคิดอย่างไร.
ปุ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ถ้าพวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทจักด่า
จักบริภาษข้าพระองค์ไซร้ ในข้อนั้น ข้าพระองค์จักมีความคิดอย่างนี้ว่า
มนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทนี้เจริญหนอ เจริญดีหนอ ที่เขาไม่ประหารเรา
ด้วยมือ ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ในข้อนี้ ข้าพระองค์จักมีความคิดอย่างนี้
ข้าแต่พระสุคต ในข้อนี้ ข้าพระองค์จักมีความคิดอย่างนี้.
พ. ดูก่อนปุณณะ ก็ถ้าพวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทจักประหาร
เธอด้วยมือเล่า ในข้อนั้น เธอจักมีความคิดอย่างไร.
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 十月 26, 2019

Thao

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 20/110/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ปริภุญฺชติ คือกำหนดด้วยปัญญาว่า การบริโภคอาหารก็เพื่อประโยชน์อันนี้
แล้วบริโภค. คำว่า อตฺตพฺยาพาธาย วา เจเตติ คือ คิดเพื่อทำทุกข์
แก่ตน. คำว่า สุตํ เม ตํ คือ เรื่องนั้นเราได้ยินมา พระผู้มีพระภาคเจ้า
ทรงแสดงว่า แต่ก่อน เรื่องนั้น เราเพียงแต่ได้ยินมาเท่านั้น. คำว่า สเจ โข
เต ชีวก อิทํ สนฺธาย ภาสิตํ ความว่า ดูก่อนชีวก ท้าวอาทิผิด อักขระมหาพรหมละ
พยาบาทเป็นต้น ด้วยวิกขัมภนปหาน ละด้วยอำนาจการข่มไว้ ด้วยเหตุนั้น
ท้าวมหาพรหมนั้น จึงชื่อว่า อยู่ด้วยเมตตา ถ้าท่านกล่าวหมายถึงข้อนี้ด้วย
สมุจเฉทปหานละอย่างเด็ดขาดของเรา เมื่อเป็นเช่นนี้ เราก็อนุมัติคำนี้ของท่าน
หมอชีวกก็รับ. ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อทรงพรรณนาเทศนาให้ยิ่ง
ขึ้นไป แม้ด้วยอำนาจพรหมวิหารที่เหลือแก่หมอชีวกนั้น จึงตรัสว่า อิธ ชีวก
ภิกฺขุ ดังนี้เป็นต้น คำนอกนั้นมีเนื้อความตื้นทั้งนั้น.
อรรถว่า โย โข ชีวก นี้เป็นอนุสนธิที่แยกแสดงต่างหาก จริง
อยู่ ในฐานะนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงปิดประตู ทรงแสดงความเอ็นดูสัตว์
ก็ถ้าคนทั้งหลายถวายบิณฑบาตมีรสอย่างยิ่ง แก่ภิกษุไร ๆ นั้น อย่างนี้แล้ว
กลับได้สวรรค์ถึงแสนกัปไซร้ เขาก็จะพึงทำกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง แม้ทำ
ผู้อื่นให้ตายแล้ว ถวายบิณฑบาตมีรสได้ เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า
เมื่อจะทรงปฏิเสธความข้อนั้น จึงตรัสว่า โย โข ชีวก ตถาคตํ ดังนี้เป็นต้น.
ในคำนั้น คำว่า อิมินา ปฐเมน ฐาเนน ได้แก่ด้วยเหตุที่หนึ่ง ซึ่งเป็น
เพียงคำสั่งเท่านั้น อันนี้ก่อน. คำว่า คลปฺปเวฐเกน ได้แก่สัตว์ที่ถูกเชือก
ผูกคอลากมาหรือสัตว์ที่มีคอถูกผูกลากมา. คำว่า อารภิยมาโน ได้แก่ถูกเขา
ทำให้ตาย. คำว่า อกปฺปิเยน อสฺสาเทติ ความว่า คนที่ให้ภิกษุฉันเนื้อ
หมีด้วยสำคัญว่า เนื้อหมู ฉันเนื้อเสือเหลืองด้วยสำคัญว่าเนื้อมฤค ก็พูด
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 十月 25, 2019

King

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 1/163/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เจริญอนุบุพพวิปัสสนา ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์แล้วบวช. ต้นมหาโพธิ์ได้
ประดิษฐานอยู่บนอากาศ จนพระอาทิตย์อัสดงคต ก็เมื่อพระอาทิตย์อัสดงคต
แล้ว จึงกลับ (ลงมา) ประดิษฐานอยู่บนปฐพี โดยโรหิณีนักขัตฤกษ์.
พร้อมกับด้วยต้นมหาโพธิ์ประดิษฐานอยู่ (นั่นแล) มหาปฐพีได้ไหวจนถึงที่สุด
น้ำ (รองแผ่นดิน). ก็แล ต้นมหาโพธิ์ ครั้นประดิษฐานอยู่แล้ว ก็นิ่งเงียบ
อยู่ในกลีบเมฆ (กลุ่มหมอก) ตลอด ๗ วัน. ต้นมหาโพธิ์ได้ถึงความมอง
ไม่เห็นชาวโลก (คือชาวโลกมองไม่เห็นต้นมหาโพธิ์). ในวันที่ ๗ นภากาศ
ได้ปราศจากเมฆหมอกแล้ว. รัศมีซึ่งมีพรรณ ๖ ประการ ก็พวยพุ่งกระจาย
ออก. ลำต้น กิ่ง ใบ และผลทั้ง ๕ แห่งต้นมหาโพธิ์ก็ปรากฏให้เห็น. พระ
มหินทเถระ พระนางสังฆมิตตาอาทิผิด เถรี และพระราชา พร้อมด้วยข้าราชบริพาร
ได้เสด็จไปถึงสถานที่ตั้งแห่งต้นมหาโพธิ์นั่นแล. และประชาชนชาวเกาะทั้งหมด
ก็ประชุมกันแล้วโดยส่วนมาก. เมื่อชนเหล่านั้นมองดูอยู่นั่นเอง ผลหนึ่งจากกิ่งอาทิผิด อาณัติกะ
ด้านทิศอุดรสุกแล้วก็หล่นจากกิ่ง. พระเถระน้อมหัตถ์เข้ารับไว้. ผลก็ได้ตั้งอยู่
บนหัตถ์ของพระเถระ. พระเถระได้ถวายผลนั้นแด่พระราชา โดยถวายพระพร
ว่า ขอพระองค์ทรงปลูกเถิด มหาบพิตร !
[ต้นมหาโพธิ์แตกสาขาออกถึง ๘ ต้นและ ๓๒ ต้น]
พระราชาทรงรับแล้ว ก็ทรงโปรยปุ๋ยที่มีรสดีลงที่กระถางทองใส่โคลน
ที่ผสมด้วยของหอมให้เต็ม แล้วเพาะปลูกไว้ในที่ใกล้ต้นมหาโพธิ์. เมื่อชน
ทั้งหมดดูอยู่นั่นเอง ต้นโพธิ์อ่อน ๆ ๘ ต้น ซึ่งมีประมาณ ๔ ศอก ได้งอก
ขึ้นแล้ว. พระราชาทอดพระเนตรเห็นอัศจรรย์นั้นแล้วก็ทรงบูชาต้นโพธิ์อ่อน ๆ
๘ ต้นด้วยเศวตฉัตร แล้วถวายการอภิเษก (แก่ต้นโพธิ์อ่อน ๆ ทั้ง ๘ ต้นนั้น).
ประชาชนปลูกต้นโพธิ์ต้นหนึ่ง (ซึ่งแยกออก) จากต้นโพธิ์อ่อน ๆ ทั้ง ๘ ต้นนั้น
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 十月 23, 2019

Nangsue

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 33/109/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อะไรอย่างนี้หรือ แล้วก็รีบไปหาช่างหม้อ พูดโดยถ้อยคำที่ไม่ควรพูดใน
สำนักคนเหล่าอื่นว่า ดูสิพ่อคุณ ดูสิพ่อคุณ ช่างหม้อกล่าวว่า ท่านให้ดู
อะไรเล่า งานนั้นเสร็จไปแล้ว แต่นั้น เศรษฐีนั้นก็กลับไปเรือน.
ตั้งแต่นั้นมา โรคทางใจก็เกิดแก่เศรษฐีนั้น สมัยนั้น เศรษฐีนั้นกินไม่
ได้ด้วยโรคทางใจนั้น ครุ่นคิดว่า ควรจะเห็นความพินาศของศัตรูของบุตรเรา
ด้วยอุบายอย่างใดอย่างหนึ่ง จึงเขียนหนังสือขึ้นฉบับหนึ่ง เรียกนายโฆสกะ
มาสั่งด้วยปากว่า เจ้าจงถือหนังสือนี้ไปหาคนทำงานของพ่อที่มีอยู่บ้านชื่อ
โน้น จงบอกว่า ได้ยินว่า ท่านจงรีบทำเรื่องที่มีอยู่ในหนังสืออาทิผิด อักขระ ระหว่างทาง
จงไปเรือนเศรษฐีคนหนึ่ง ชื่อคามิกเศรษฐีสหายของพ่อ กินอาหารแล้ว
พึงไป แล้วได้มอบสาสน์ให้ไป นายโฆสกะนั้นไหว้เศรษฐีแล้ว รับหนังสือ
ออกไป ระหว่างทางไปถึงสถานที่อยู่ของคามิกเศรษฐีแล้ว ถามถึงเรือน
ของเศรษฐี ยืนไหว้คามิกเศรษฐีนั้น ซึ่งนั่งอยู่นอกซุ้มประตูกำลังให้ช่าง
แต่งหนวดอยู่ เมื่อถูกถามว่า พ่อเอ๋ย เจ้าอาทิผิด มาแต่ไหนล่ะ จึงตอบว่า ท่าน
พ่อ ผมเป็นบุตรโกสัมพิยเศรษฐี ขอรับ. คามิกเศรษฐีนั้นก็ร่าเริงยินดีว่า
บุตรเศรษฐีสหายเรา. ขณะนั้น ทาสีคนหนึ่งของธิดาเศรษฐี นำดอกไม้
มาให้ธิดาเศรษฐี. ลำดับนั้น เศรษฐีจึงกล่าวกะทาสีนั้นว่า พักงานนั้น
ไว้เสีย จงล้างเท้าพ่อโฆสกะ จัดที่นอนให้. ทาสีนั้นก็ทำตามคำสั่งแล้วไป
ตลาด นำดอกไม้มาให้ธิดาเศรษฐี. ธิดาเศรษฐีเห็นทาสีนั้นแล้วก็ดุนางว่า
วันนี้ เจ้าชักช้าอยู่ข้างนอกนานนัก โกรธแล้วจึงกล่าวว่า เจ้ามัวทำอะไรใน
ที่นั้นตลอดเวลาเท่านี้ ทาสีกล่าวว่า แม่เจ้าอย่าพูดเลยเจ้าค่ะ ดิฉันไม่เคยเห็น
ชายหนุ่มรูปงามเห็นปานนี้เลย เขาเป็นชายหนุ่มคนหนึ่ง เป็นบุตรเศรษฐี
สหายบิดาของแม่เจ้า ดิฉันไม่อาจกล่าวถึงรูปสมบัติของเขาได้ ดิฉันกำลัง
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 十月 20, 2019

Khrai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 64/26/6  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[๗๗๓] กระบวนกลอง ตะโพน สังข์ บัณ-
เฑาะว์และมโหรทึกของใคร มาข้างหน้า ทำให้
พระราชาจอมทัพทรงหรรษา ใครมีสีหน้าสุกใสด้วย
แผ่นทองคำอันหนา มีพรรณดังสายฟ้า ชันษายังหนุ่ม
แน่น สอดสวมแล่งธนูรุ่งเรืองด้วยสิริมาอยู่ นั่นเป็นใคร
ใครอาทิผิด มีพักตร์ผ่องใสอาทิผิด สระเพียงดังทอง เหมือนถ่านไฟไม้ตะ-
เคียนซึ่งลุกโชนอยู่ที่ปากเบ้า รุ่งเรืองด้วยสิริมาอยู่ ใคร
นั่น มีฉัตรทองชมพูนุชมีซี่น่ารื่นรมย์ใจสำหรับกันรัศ-
มีพระอาทิตย์ รุ่งเรืองด้วยสิริมาอยู่ ใครนั่นมีปัญญา
ประเสริฐ มีพัดวาลวิชนีอย่างดีเยี่ยม อันคนใช้ประคอง
ณ เบื้องบนเศียรทั้งสองข้าง คนทั้งหลายถือกำหางนก
ยูงอันวิจิตรอ่อนสลวย มีด้ามล้วนแล้วด้วยทองและ
แก้วมณี จรลีมาทั้งสองข้าง ข้างหน้าของใคร กุณฑล
อันกลมเกลี้ยง มีรัศมีดังสีถ่านไม้ตะเคียนซึ่งลุกโชนอาทิผิด อักขระอยู่
ที่ปากเบ้า งดงามอยู่ทั้งสองข้าง ข้างหน้าของใคร
เส้นผมของใครต้องลมอยู่ไหว ๆ ปลายสนิทละเอียด
ดำ งามจดนลาต ดังสายฟ้าพุ่งขึ้นจากท้องอาทิผิด อาณัติกะฟ้า ใคร
มีเนตรซ้ายขวากว้างและใหญ่ งาม มีพักตร์ผ่องใส
ดังคันฉ่องทอง ใครมีโอษฐ์สะอาดเหมือนสังข์อันขาว
ผ่อง เมื่อเจรจา (แลเห็น) ฟันขาวสะอาดงามดังดอก
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 十月 18, 2019

Pratu

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 44/779/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เดือน ๕ เดือน และ ๖ เดือน. บทว่า ตโต นํ ความว่า แต่นั้น ย่อม
อนุเคราะห์บุรุษผู้มีชาติเป็นบัณฑิตนั้น. บทว่า โอรสํ ได้แก่ ให้เติบโต
ไว้ที่อก เหมือนมารดาอนุเคราะห์บุตรผู้เกิดอาทิผิด อักขระแต่อก. อธิบายว่า ย่อม
อนุเคราะห์ โดยพยายามเพื่อกำจัดอันตรายที่เกิดขึ้นนั่นแหละ. บทว่า
ภทฺรานิ ปสฺสติ ได้แก่ ย่อมเห็นว่าเป็นดี.
บทว่า อนุโมทิตฺวา ความว่า ทรงแสดงธรรมกถาแก่มหาอำมาตย์
ชื่อสุนีธะและวัสสการะ โดยอนุโมทนาส่วนบุญที่พวกเขาพากันขวนขวาย
ในกาลนั้น. ฝ่ายมหาอำมาตย์ชื่อสุนีธะและวัสสะการะได้ฟังพระดำรัสของ
พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ควรอุทิศทักษิณาแก่เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ในที่นั้น ๆ
จึงได้ให้ส่วนบุญแก่เทวดาเหล่านั้น.
บทว่า ตํ โคตมทฺวารํ นาม อโหสิ ความว่า ประตูอาทิผิด สระของพระนคร
นั้น อันได้นามว่า โคตมทวาร เพราะเป็นเหตุเสด็จออกของพระผู้มี-
พระภาคเจ้า อนึ่ง ไม่ได้ชื่อว่าโคตมติฏฐะ เพราะไม่ได้หยั่งลงสู่ท่า เพื่อ
ข้ามแม่น้ำคงคา.
บทว่า ปูรา แปลว่า เต็ม. บทว่า สมติตฺติกา ได้แก่ เต็ม คือ
เปี่ยมด้วยน้ำ เสมอตลิ่ง. บทว่า กากเปยฺยา ได้แก่ มีน้ำที่กาซึ่งจับอยู่
ที่ฝั่ง สามารถจะดื่มได้. ด้วยบททั้งสอง ท่านแสดงเฉพาะที่เต็มเปี่ยม
ทั้งสองฝั่ง. บทว่า อุฬุมฺปํ ได้แก่ พ่วงที่เขาเอาไม้ขนานแล้วตอกลิ่ม
ทำไว้ เพื่อข้ามฝั่ง. บทว่า กุลฺลํ ได้แก่ แพที่เขาเอาเถาวัลย์ผูกไม้ไผ่
และไม้อ้อทำไว้.
บทว่า เอตมตฺถํ วิทิตฺวา ความว่า พระองค์ทรงทราบโดยอาการ
ทั้งปวง ถึงความที่มหาชน ไม่สามารถจะข้าม แม้แต่น้ำในแม่น้ำคงคา
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 十月 17, 2019

Kharuehat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 26/65/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถาผัคคุนสูตรที่ ๒

ในผัคคุนสูตรที่ ๒ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
บทว่า สมฺภเวสีนํ วา อนุคฺคหาย ได้แก่พระผู้มีพระภาคเจ้า
ทรงให้เทศนาจบลงในที่นี้นั่นเอง. เพราะเหตุไร. เพราะผู้มีทิฏฐินั่งอยู่
แล้ว. จริงอยู่ พระโมลิยผัคคุนภิกษุ ซึ่งมีทิฏฐินั่งอยู่ในบริษัทนั้นแล้ว
ต่อนั้น พระศาสดาทรงดำริว่า โมลิยผัคคุนภิกษุนี้ จักลุกขึ้นถามปัญหา
เรา เมื่อเป็นเช่นนั้น เราจักแก้ปัญหาให้เธอ แล้วให้เทศนาจบลง
เพื่อให้โอกาสเธอได้ถาม. มวยผม ท่านเรียกว่า โมลี ในคำว่า
โมลิยผคฺคุโน นี้. สมดังที่พระองค์ตรัสไว้ว่า
พระสักยมุนี ทรงตัดพระเมาลีที่อบด้วยน้ำหอม
อย่างดี แล้วทรงเหวี่ยงไปในอากาศ ท้าววาสวะผู้
สหัสสเนตรที่เอาผอบทองคำอย่างประเสริฐ รับไว้ด้วย
เศียรเกล้า.
ในสมัยที่ท่านเป็นคฤหัสถ์อาทิผิด อักขระ เมาลี (มวยผม) ของท่านใหญ่มาก
เพราะเหตุนั้น ท่านจึงเกิดมีชื่อเรียกว่า โมลิยผัคคุนะ. แม้ท่านจะบวช
แล้ว คนก็ยังรู้จักตามชื่อนั้นนั่นแหละ. บทว่า เอตทโวจ ได้แก่ ท่าน
เมื่อจะสืบต่อเทศนานุสนธิ ก็ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้า ข้าแต่
พระองค์ผู้เจริญ ใครหนอนำวิญญาณาหารมา. พึงทราบเนื้อความแห่ง
คำนั้นดังต่อไปนี้ :- ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ผู้ที่กินหรือบริโภควิญญาณา-
หารนั้นคือใคร.
ถามว่า ก็เพราะเหตุไร. พระโมลิยะนี้จึงไม่ถามถึงอาหาร ๓
นอกจากนี้ ถามแต่เพียงวิญญาณาหารนี้อย่างเดียว.
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 十月 15, 2019

Techo

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 21/62/3  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
นั้น. แม้ในวาระที่สอง ก็นัยนี้เหมือนกัน. บทว่า อปฺปาพาโธ ได้แก่ ไม่มี
โรค. บทว่า อปฺปาตงฺโก ได้แก่ ไม่มีทุกข์. บทว่า สมเวปากินิยา ได้แก่
ประกอบด้วยไฟธาตุ ที่ย่อยอาหารสม่ำเสมอดี. บทว่า คหณิยา ได้แก่ เตโชอาทิผิด อักขระ
ธาตุ ที่เกิดแต่กรรม. อาหารของผู้ใด ที่พอบริโภคแล้วย่อมย่อย ก็หรือว่า
ของผู้ใดย่อมตั้งอยู่อย่างนั้นเหมือนอาหารที่ยังเป็นห่ออยู่ ประกอบด้วยไฟธาตุ
ที่ย่อยสม่ำเสมอกันทั้งสองนั้น. ส่วนผู้ใดเวลาบริโภคแล้วก็เกิดความต้องการ
อาหาร ผู้นี้ชื่อว่าประกอบด้วยไฟธาตุที่ย่อยสม่ำเสมอดี. บทว่า นาติสีตาย
นาจฺจุณฺหาย ได้แก่. ไม่เย็นนัก ไม่ร้อนนักด้วยเหตุนั้นนั่นแหละ. บทว่า
อนฺปพฺเพน ความว่า ตามลำดับเป็นต้นว่า พระราชาทรงพิจารณา. ในวาระ
ที่สองก็พึงทราบโดยลำดับ มีราชภัยโจรภัยและฉาตกภัยเป็นต้น. บทว่า
ธมฺมุทฺเทสา อุทฺทิฏฐา ได้แก่ ยกธรรมนิทเทสขึ้นแสดง. บทว่า อุปนียติอาทิผิด อักขระ
ได้แก่ ไปใกล้ชรามรณะ หรือ ถูกนำไปในชรามรณะนั้นด้วยความสิ้นอายุ.
บทว่า อทฺธุโว คือ เว้นจากการตั้งอยู่ยั่งยืน. บทว่า อตาโณ ได้แก่ เว้นจาก
ความสามารถที่จะต่อต้าน. บทว่า อนภิสฺสโร ได้แก่ ไม่มีสรณะ คือ
เว้นจากความสามารถที่จะมีสรณะให้ยิ่งแล้วเบาใจ. บทว่า อสฺสโก คือ ไม่มี
ของตน เว้นจากของที่เป็นของตน. บทว่า สพฺพํ ปหาย คมนียํ ได้แก่
โลกจำต้องละสิ่งทั้งปวง ที่กำหนดว่าเป็นของตนไป. บทว่า ตณฺหาทาโส
แปลว่า เป็นทาสแห่งตัณหา. บทว่า หตถิสฺมิ แปลว่า ในเพราะศิลปะช้าง.
บทว่า กตาวี ได้แก่ กระทำกิจเสร็จแล้ว ศึกษาเสร็จแล้ว อธิบายว่ามีศิลปะ
คล่องแคล่ว. ในบททั้งปวงก็นัยนี้. บทว่า อูรุพลี ได้แก่สมบูรณ์ด้วยกำลังขา.
จริงอยู่ ผู้ใดมีกำลังขาที่จะจับโล่และอาวุธ เข้าไปสู่กองทัพของปรปักษ์ ทำลาย
สิ่งที่ยังมิได้ทำลาย ธำรงสิ่งที่ทำลายไว้ได้แล้วนำราชสมบัติที่อยู่ในมือของ
ปรปักษ์มาได้. ผู้นี้ชื่อว่า มีกำลังขา. บทว่า พาหุพลี ได้แก่ สมบูรณ์ด้วย
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 十月 14, 2019

Dibuk

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 23/26/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถามหาสุญญตาอาทิผิด สระสูตร

มหาสุญญตาสูตร มีบทเริ่มต้นว่า ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้:-
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า กาฬเขมกสฺส ความว่า เจ้าศากยะนั้น
มีผิวดำ. ก็คำว่า เขมโก เป็นชื่อของเจ้าศากยะนั้น. บทว่า วิหาโร หมายถึง
ที่พักซึ่งเจ้าศากยะล้อมรั้ว ณ ประเทศแห่งหนึ่ง ใกล้นิโครธารามนั้นแหละ
สร้างซุ้มประตู ประดิษฐานเสนาสนะรูปหงส์เป็นต้นและมาลมณฑลโรงฉัน
เป็นต้น สร้างไว้. บทว่า สมฺพหุลานิ เสนาสนานิ ได้แก่ เตียง ตั่ง
ฟูก หมอน เสื่อ ท่อนหนัง สันถัตที่ทำด้วยหญ้า สันถัตอาทิผิด อักขระที่ทำด้วยใบไม้
สันถัตที่ทำด้วยฟางเป็นต้น ซึ่งเขาปูลาดไว้ คือ ตั้งเตียงจดเตียง ฯลฯ ตั้ง
สันถัตที่ทำด้วยฟาง จดสันถัตที่ทำด้วยฟางเหมือนกัน. ได้เป็นเหมือนที่อยู่ของ
ภิกษุที่อยู่กัน เป็นคณะ. บทว่า สมฺพหุลา นุโข ความว่า ขึ้นชื่อว่า ความ
สงสัยอาทิผิด อักขระย่อมไม่มีแก่พระผู้มีพระภาคเจ้าเพราะพระองค์ทรงถอนกิเลสทั้งปวงได้แล้ว
ที่โพธิบัลลังก์อาทิผิด อักขระนั้นแล. ปุจฉาที่มีวิตกเป็นบุพภาคก็ดี และนุอักษรที่มีวิตกเป็น
บุพภาคก็ดี เป็นเพียงนิบาต เมื่อถึงวาระพระบาลี ย่อมเป็นอันไม่ต้องวินิจฉัย.
ได้ยินว่า ก่อนหน้าแต่นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า ไม่เคยทอดพระเนตร
เห็นภิกษุทั้งหลายจะอยู่ในที่เดียวกัน ถึง ๑๐ รูป ๑? รูป.
ครั้งนั้น พระองค์ได้มีพระดำริดังนี้ว่า ขึ้นชื่อว่า การอยู่เป็นคณะนี้
ได้ประพฤติปฏิบัติกัน มาในวัฏฏะแล้ว เหมือนน้ำที่ไหลลงสู่แม่น้ำ และการอยู่
เป็นคณะก็ได้ประพฤติกันมาแล้วในนรก กำเนิดสัตว์เดียรัจฉาน ปิตติวิสัย
และอสุรกายก็มี ในมนุษยโลก เทวโลก และพรหมโลกก็มี นรกหมื่นโยชน์
แน่นไปด้วยสัตว์ทั้งหลาย เหมือนทะนานที่เต็มไปด้วยผงดีบุกอาทิผิด อักขระ เหล่าสัตว์ใน
๑. พระสูตรเป็น มหาสุญญตสูตร
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 十月 12, 2019

Samruam

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 35/152/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ย่อมฆ่า. บทว่า ยชนฺติ อนุกุลํ สทา ความว่า ชนเหล่าใดย่อมบูชายัญ
ตามตระกูล แม้พวกคนเหล่านั้นเกิดในภายหลัง ก็ยังบูชาตาม เพราะบรรพบุรุษ
ทั้งหลายได้บูชากันมาแล้ว. บทว่า เสยฺโย โหติ แปลว่า ย่อมวิเศษ
แน่แท้. บทว่า น ปาปิโย ได้แก่ ไม่เลวทรามอะไรเลย.
จบอรรถกถาอุชชยสูตรที่ ๙
๑๐. อุทายิสูตร
ว่าด้วยอุทายิพราหมณ์ทูลถามปัญหา
[๔๐] ความเหมือนสูตรก่อน ต่างแต่สูตรนี้พราหมณ์ชื่ออุทายิมาเฝ้า
และมีนิคมคาถาดังนี้
พรหมจารีทั้งหลาย ผู้สำรวมอาทิผิด อักขระแล้ว
ย่อมสรรเสริญยัญ (คือทาน) ที่ไม่มีการ
อันจะต้องเป็นธุระริเริ่มมา จัดทำให้เป็น
กัปปิยะ (คือให้เป็นของควร ปราศจาก
การเบียดเบียนสัตว์) ตามกาล เช่นนั้น.
อนึ่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้มีหลังคา
(คือกิเลส) อันเปิดแล้ว ผู้ก้าวล่วงแล้วซึ่ง
ตระกูลและคติ ผู้ฉลาดในเรื่องบุญ ทรง
สรรเสริญยัญอันนั้น
ในยัญ (คือการบริจาคทานปกติ)
ก็ดี ในศราทธะ (คือทำบุญอุทิศผู้ตาย)
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 十月 07, 2019

Phirut

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 63/25/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เหี่ยวแห้ง ก็ไม่ทรงกันแสงอยากเสวยนม ลำดับนั้น พระนางจันทาเทวีเห็น
พระโพธิสัตว์ไม่ทรงกันแสง ก็ทรงพระดำริว่า ลูกเราหิว จึงให้ดื่มน้ำพระถัน
ของพระนางเอง บางคราวนางนมทั้งหลายให้ดื่มน้ำนั้น เหล่าทารกที่เหลือต่าง
ร้องไห้ ไม่นอนในเวลาไม่ได้ดื่มน้ำนม พระโพธิสัตว์ไม่ทรงกันแสง ไม่ทรง
คร่ำครวญ ไม่บรรทม ไม่คู้พระหัตถ์และพระบาท ไม่เปล่งพระวาจา ครั้งนั้น
นางนมทั้งหลายคิดกันว่า ธรรมดามือและเท้าของคนง่อยเปลี้ยไม่เป็นอย่างนี้
ปลายคางของคนใบ้ไม่เป็นอย่างนี้ ช่องหูของคนหนวกก็ไม่เป็นอย่างนี้ จะต้อง
มีเหตุในพระกุมารนี้ พวกเราจักทดลองพระกุมาร จึงไม่ถวายน้ำนมแด่
พระโพธิสัตว์นั้นตลอดทั้งวัน ด้วยประสงค์ว่า จักทดลองพระกุมารด้วยเรื่อง
นมก่อน พระโพธิสัตว์แม้เหี่ยวแห้งก็ไม่ทรงกันแสงอยากเสวยนม ครั้งนั้น
พระชนนีของพระโพธิสัตว์ตรัสสั่งให้นางนมถวายนม ด้วยพระราชเสาวนีย์ว่า
ลูกฉันหิว จงให้น้ำนมแก่เขา นางนมเหล่านั้น แม้ทดลองไม่ถวายน้ำนมใน
ระหว่าง ๆ อย่างนี้เป็นเวลาปีหนึ่ง ก็ไม่เห็นความพิรุธอาทิผิด อักขระของพระโพธิสัตว์
ลำดับนั้น หมู่อมาตย์กราบทูลพระราชาว่า ขอเดชะ ธรรมดาทารกอายุขวบหนึ่ง
ชอบกินขนมและของเคี้ยว พวกข้าพระองค์จักทดลองพระกุมารด้วยนมและ
ของเคี้ยว กราบทูลดังนี้แล้วไห้กุมารทั้ง ๕๐๐ คนเหล่านั้น นั่งใกล้ ๆ พระราช
กุมาร นำขนมและของเคี้ยวต่าง ๆ เข้าไปวางไว้ใกล้ ๆ พระมหาสัตว์ กล่าวว่า
ท่านทั้งหลายจงถือเอาขนมและของเคี้ยวเหล่านั้นตามชอบใจ แล้วพากันยืน
แอบดูอยู่ พวกทารกที่เหลือทะเลาะยื้อแย่งกันและกัน ถือเอาขนมและของเคี้ยว
มาเคี้ยวกิน ฝ่ายพระมหาสัตว์ทรงโอวาทพระองค์ว่า แน่ะพ่อเตมิยกุมาร ถ้า
เจ้าประสงค์นรก ก็จงประสงค์ขนมและของเคี้ยว เป็นผู้กลัวภัยในนรก จึงไม่
ทอดพระเนตรดูขนมและของเคี้ยวเลย แม้ทดลองด้วยขนมและของเคี้ยวใน
ระหว่าง ๆ อย่างนี้เป็นเวลาปีหนึ่ง ก็ไม่เห็นความพิรุธของพระโพธิสัตว์.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 十月 06, 2019

Sodaban

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 80/302/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
โอธิโสกถา
[๒๗๙] สกวาที บุคคลละกิเลสได้เป็นส่วน ๆ หรือ ?
ปรวาที ถูกแล้ว.
ส. บุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล ละ
อะไรได้ด้วยการเห็นทุกข์ ?
ป. ละสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส และ
บรรดากิเลสพวกเดียวกันส่วนหนึ่งได้.
ส. บุคคลเป็นพระโสดาบันแต่ส่วนหนึ่ง อีกส่วน
หนึ่งไม่เป็นพระโสดาบันอาทิผิด สระ ส่วนหนึ่งบรรลุ . . . ได้เฉพาะ. . . ถึงทับ. . .
ทำให้แจ้ง... เข้าถึงอยู่ . . . ถูกต้องด้วยกายอยู่ . . . ซึ่งโสดาปัตติผล แต่อีก
ส่วนหนึ่งไม่ถูกต้องด้วยกายอยู่ ซึ่งโสดาปัตติผล ส่วนหนึ่งเป็นพระ
โสดาบันผู้สัตตขัตตุปรมะ. . . ผู้โกลังโกละ. . . ผู้เอกพีชี. . . ประกอบ
ด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า ฯลฯ ในพระธรรม ฯลฯ
ในพระสงฆ์... ประกอบด้วยอริยกันตศีล แต่อีกส่วนหนึ่งไม่ประกอบ
ด้วยอริยกันตศีล หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯ ล ฯ
ส. บุคคลผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล ละ
อะไรได้อาทิผิด อาณัติกะด้วยการเห็นสมุทัย ?
ป. ละสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาสอาทิผิด สระ และ
บรรดากิเลสพวกเดียวกันส่วนหนึ่งได้.
ส. บุคคลเป็นพระโสดาบันแต่ส่วนหนึ่ง อีกส่วน
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 十月 04, 2019

Yindi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 60/69/23 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระราชกุมาร ได้สดับพระราชเสาวนีย์นั้นแล้ว จึงตรัสคาถาที่ ๗ ว่า
น้ำค้างบนยอดหญ้า พระอาทิตย์ขึ้นก็เหือดแห้ง
ไป ฉันใด อายุของมนุษย์ทั้งหลาย ก็ฉันนั้น ขอทูล
กระหม่อมแม่ อย่าทรงห้ามฉันเลย พระเจ้าข้า.
คำแห่งคาถานั้น มีอธิบายว่า ข้าแต่ทูลกระหม่อมแม่ หยาดน้ำค้าง
บนยอดหญ้า พอพระอาทิตย์ขึ้นไปก็สลายแห้งหายไป มิอาจจะดำรงอยู่ได้ คือ
ตกลงดินหมด ฉันใด ชีวิตของหมู่สัตว์เหล่านั้น ก็ฉันนั้น เป็นของนิดหน่อย
เป็นไปชั่วกาล มิได้ตั้งอยู่นานเลย ในโลกสันนิวาสเห็นปานนี้ พระองค์จะ
ทรงเห็นหม่อมฉันนาน ๆ ได้อย่างไรเล่า พระเจ้าข้า โปรดอย่าทรงห้าม
หม่อมฉันเลย.
แม้เมื่อพระโพธิสัตว์ กราบทูลอย่างนี้แล้ว พระนางก็คงตรัสอ้อนวอน
แล้ว ๆ เล่า ๆ อยู่นั่นเอง. ลำดับนั้น พระมหาสัตว์เจ้า เมื่อจะกราบทูลเตือน
พระราชบิดา จึงตรัสพระคาถาที่ ๘ ว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นจอมเสนา ขอได้โปรดรีบ
ตรัสให้พระราชมารดาเสด็จขึ้นสู่ยานนี้เสียเถิด พระ
มารดาอย่าได้ทรงกระทำอันตราย แก่หม่อมฉัน ผู้
กำลังรีบด่วนเสียเลย.
คำเป็นคาถานั้น มีอธิบายว่า ข้าแต่พระทูลกระหม่อมผู้เป็นจอมรถ
โปรดตรัสให้คนรีบเชิญพระมารดาของหม่อมฉันนี้ เสด็จขึ้นสู่พระยาน คือ
พระวอทอง พระมารดาอย่าได้ทรงทำอันตรายแก่หม่อมฉัน ผู้กำลังจะข้ามก้าว
ล่วงแดนกันดารคือ ชาติ ชรา พยาธิ และมรณะเสียเลย.
พระราชาทรงได้สดับพระดำรัสของพระโอรสแล้ว ตรัสว่า นางผู้เจริญ
ขอได้ไปเสียเถิด จงประทับนั่งเหนือวอของเธอ ขึ้นสู่ปราสาทอันยังความยินดีอาทิผิด สระ
 
พระปิฎกธรรม