星期六, 十月 12, 2019

Samruam

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 35/152/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ย่อมฆ่า. บทว่า ยชนฺติ อนุกุลํ สทา ความว่า ชนเหล่าใดย่อมบูชายัญ
ตามตระกูล แม้พวกคนเหล่านั้นเกิดในภายหลัง ก็ยังบูชาตาม เพราะบรรพบุรุษ
ทั้งหลายได้บูชากันมาแล้ว. บทว่า เสยฺโย โหติ แปลว่า ย่อมวิเศษ
แน่แท้. บทว่า น ปาปิโย ได้แก่ ไม่เลวทรามอะไรเลย.
จบอรรถกถาอุชชยสูตรที่ ๙
๑๐. อุทายิสูตร
ว่าด้วยอุทายิพราหมณ์ทูลถามปัญหา
[๔๐] ความเหมือนสูตรก่อน ต่างแต่สูตรนี้พราหมณ์ชื่ออุทายิมาเฝ้า
และมีนิคมคาถาดังนี้
พรหมจารีทั้งหลาย ผู้สำรวมอาทิผิด อักขระแล้ว
ย่อมสรรเสริญยัญ (คือทาน) ที่ไม่มีการ
อันจะต้องเป็นธุระริเริ่มมา จัดทำให้เป็น
กัปปิยะ (คือให้เป็นของควร ปราศจาก
การเบียดเบียนสัตว์) ตามกาล เช่นนั้น.
อนึ่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้มีหลังคา
(คือกิเลส) อันเปิดแล้ว ผู้ก้าวล่วงแล้วซึ่ง
ตระกูลและคติ ผู้ฉลาดในเรื่องบุญ ทรง
สรรเสริญยัญอันนั้น
ในยัญ (คือการบริจาคทานปกติ)
ก็ดี ในศราทธะ (คือทำบุญอุทิศผู้ตาย)
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: