星期一, 十一月 25, 2019

Banthat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์   9/90/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บทว่า วิทลกํ ได้แก่ การพับชายโดยรอบแห่งเสื่อหวายทำให้เป็น
๒ ชั้น พอได้ขนาดกับกระทงสะดึง.
บทว่า สุลากํ ได้แก่ ซี่ไม้สำหรับสอดเข้าในระหว่างแห่งจีวร ๒ ชั้น.
บทว่า วินทฺธนรชฺชุํ ได้แก่ เชือกที่มัดแม่สะดึงเล็กกับแม่สะดึง
ใหญ่ ที่ไม้สะดึงนั้น.
บทว่า วินทุธนสุตฺตกํ ได้แก่ ด้ายที่ตรึงจีวรติดกับแม่สะดึงเล็ก.
สามบทว่า วินทฺธิตฺวา จีวรํ สิพฺเพตุํ มีความว่า เราอนุญาต
ให้ตรึงจีวรที่แม่สะดึงนั้น ด้วยด้ายนั้นแล้วเย็บ.
สองบทว่า วิสมา โหนฺติ มีความว่า ด้วยเกษียนบางแห่งเล็ก
บางแห่งใหญ่.
บทว่า กฬิมฺพกํ ได้แก่ วัตถุมีใบตาลเป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง
สำหรับทำการวัดขนาด.
บทว่า โมฆสุตฺตกํ ได้แก่ การทำแนวเครื่องหมาย ด้วยเส้น
บรรทัดอาทิผิด อักขระขมิ้น ดังการทำแนวเครื่องหมายที่ไม้ ด้วยเส้นบรรทัดดำของพวกช่าง
ไม้ฉะนั้น.
สองบทว่า องฺคุลิยา ปฏิคฺคณฺหนฺติ มีความว่า ภิกษุทั้งหลาย
(เย็บจีวร) รับปากเข็มด้วยนิ้วมือ.
บทว่า ปฏิคฺคหํ ได้แก่ สนับแห่งนิ้วมือ.
ภาชนะมีถาดและผอบเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง ชื่อภาชนะสำหรับใส่
และกระบอก.
บทว่า อุจฺจวตฺถุกํ มีความว่า เราอนุญาตให้ภิกษุถมดินทำพื้นที่
ให้สูง.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: