星期六, 七月 02, 2022

Phon

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 37/856/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อยู่แล้ว เพราะพ้นจากกิเลสทั้งหลาย. บทว่า ฐิตตฺตา สนฺตุสิโต
ได้แก่ ชื่อว่า สันโดษ เพราะตั้งมั่นแล้วนั่นเอง. บทว่า สนฺตุสิตตฺตา
โน ปริตสฺสติ ได้แก่ ไม่ถึงความสะดุ้งเพราะเป็นผู้สันโดษแล้ว.
ด้วยบทว่า อยํ ภนฺเต อานนฺท สมาธิ กิํผโล นี้ พระเถรีถือเอา
สมาธิในอรหัตผลแล้วถามว่า ข้าแต่ท่านพระอานนท์ สมาธินี้
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่าเป็นผลอาทิผิด ของอะไร ดุจถือเอาผลตาล
แล้วถามว่า ผลนี้ชื่อผลอะไรดังนี้. บทว่า อญฺญา ผโล วุตฺโต
ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกพระอรหัตว่า อญฺญา
ชื่อว่า สมาธิในอรหัตผลนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้แล้ว. บทว่า
เอวํสญฺญีปิ ความว่า แม้มีสัญญาด้วยสัญญาในอรหัตผลนี้ ก็ไม่
เสวยอายตนะนั้น เพราะเหตุนั้นในพระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า
จึงตรัสถึงสมาธิในอรหัตผลด้วยประการฉะนี้.
จบ อรรถกถาอานันทสูตรที่ ๖
 
พระปิฎกธรรม

1 条评论:

Niruttisapha. 说...

ศัพท์ ว่า นารท หรือ นารถ เป็นศัพท์ต่างหาก , แต่ศัพท์ว่า วจนะ หรือ พจน์ คงควรจะมิมีกำหนดเป็นสัญญะดั่งนั้น อย่างไร?

เพราะถ้อยความที่เป็นที่พึ่ง ถ้าศัพท์ วจะ+นารถ ไม่ถูก เพราะ ศัพท์ วจะ ไม่มี แต่ทว่า วจนะ+นาถ จึ่งจะเป็นศัพท์ที่มีแบบอยู่ , อีกอย่างคือ

มิใช่ความจะแต่งคำว่า นาถ ให้เพริศไป เพราะ นาถ และนารถ ไม่ใช่คำหลัก แต่ที่แท้ต้องแต่งว่า ไปว่า พจน์ หรือ วจนะ เป็นหลัก ฉะนั้น เร่งสถิตวิจิตรไป ให้เต็มความตามบริบท ความหมาย จึงจะว่า วจน ให้เพริศจัดวิเศษเต็มความหมาย ไปที่ศัพท์ จรด! ศัพท์‘วจนาถ’ และเป็น‘พจนาถ’ ไปตามลำดับ แล้วจึ่งต้องว่า พจนาถ

อัน ศัพท์ย่อมจะมิใช่ วจ+นารถ เพราะดูแล้วว่า คำว่า นารท หรือ นารถ ก็ดี เดิมที่แท้ แม้เก่า ที่แท้ก็ได้ตั้งเป็นชื่อวิสามานยนาม มากกว่า และเป็นคำเดียวไปแล้ว มากกว่าที่ควรจะยกมาขยาย คำว่า วจนะ หรือ พจน์

และที่แน่ ๆ ทีเดียว เมื่อต้อง ถูกส่วนสำคัญ ก็คือ ในทางบ้านเมือง และสำนักราชบัณฑิต ฉะนั้น ที่เป็นหลัก เมื่อตรวจดู มิใช่! เพราะที่ท่านว่าตามประสากลอนไม่รับประกัน ก็ย่อมแสดงอยู่แล้วว่า มิมีที่ใด ที่จะให้เขียนดั่งนั้นเลย

ฉะนั้นข้าพเจ้า จึ่งเห็นว่า ศัพท์คำนี้ เป็นเครื่องแสลง ให้ห่วงคนองตลก! และตั้งผิดไป แต่ไปให้เสียความ เสียสิ่งดีมีศรัทธา ต่อดีทั้งสองฝ่าย จะต้องเสียนัยไป เสียมากกว่า เพราะมุ่งคนองตลก ย่อมจะไม่เป็นความที่เพริศ วิจิตร และพ้นแสลง ไปได้ แต่ประการไร