星期四, 七月 14, 2022

Kilet

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 37/450/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เป็นจริง. บทว่า สมฺมปฺปญฺญาย ได้แก่ ด้วยสัมมาวิปัสสนาและ
มรรคปัญญา. บทว่า องฺคารกาสูปมา ความว่า กามเหล่านี้ท่าน
เปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง เพราะอรรถว่าทำให้เร่าร้อน. บทว่า
วิเวกนินฺนํ ได้แก่ น้อมไปในพระนิพพาน ด้วยอำนาจผลสมาบัติ.
บทว่า วิเวกฏฺฐํ ได้แก่ เว้นหรือห่างไกลจากกิเลสทั้งหลาย. บทว่า
เนกฺขมฺมาภิรตํ ได้แก่ ยินดียิ่งในบรรพชา. บทว่า พยนฺตีภูตํ แปลว่า
มีที่สุด (คือตัณหา) ไปปราศแล้ว คือ แม้โดยเอกเทศก็ไม่ติดอยู่
ไม่ประกอบไว้ ไม่เกี่ยวข้อง. บทว่า อาสวฏฺฐานิเยหิ ได้แก่ จากธรรม
อันเป็นเหตุแห่งอาสวะทั้งหลายด้วยอำนาจการประกอบไว้ อธิบาย
ว่า จากกิเลสอาทิผิด อักขระธรรมทั้งหลาย. อีกอย่างหนึ่ง บทว่า พยนฺตีภูตํ แปลว่า
ปราศจากตัณหาอันชื่อตันตี อธิบายว่า ปราศจากตัณหา. บทว่า
สพฺพโส อาสวฏฺฐานิเยหิ ธมฺเมหิ ความว่า จากธรรมอันเป็นไป
ในภูมิ ๓ ทั้งหมด. ในสูตรนี้ ท่านกล่าวถึงอริยมรรคทั้งที่เป็น
โลกิยะและโลกุตตระ.
จบ อรรถกถาทุติพลสูตรที่ ๘
๑. ตันตี เป็นชื่อของตัณหา เพราะเป็นสายดุจเส้นเชือกผูกโยงสัตว์ไว้อาทิผิด ในวัฏฏสงสาร ฯ
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: