Thamma Chak
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 47/643/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พึงทราบวินิจฉัยในคาถาที่ ๑๘. บทว่า สุตฺวาน โฆสํ ความว่า
นาลกะนั้นรอคอยอยู่อย่างนั้นได้ฟังเสียงประกาศที่พระชินสีห์ทรงประกาศธรรม-
จักรอาทิผิด อักขระอันประเสริฐโดยนัยมีอาทิว่า เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบรรลุสัมโพธิญาณ
โดยลำดับแล้วทรงประกาศพระธรรมจักรในกรุงพาราณสี พระผู้มีพระภาคเจ้า
ทรงประกาศธรรมจักรนั้นแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นเป็นพระสัมมา-
สัมพุทธเจ้าทรงอุบัติแล้วหนอดังนี้ อันพวกเทวดาผู้หวังประโยชน์แก่ตนพากัน
มาบอกแล้ว. บทว่า คนฺตฺวาน ทิสฺวา อิสินิสภํ ความว่า เมื่อทวยเทพ
ทำการโกลาหลด้วยโมเนยยปฏิปทาอยู่ตลอด ๗ วัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง
ดำริว่า ในวันที่ ๗ นาลกะจักไปยังที่อยู่ของอาทิผิด อักขระฤษีแล้วก็จักมา เราจักแสดงธรรม
แก่เขาดังนี้ นาลกะเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่งเหนือบวรอาทิผิด พุทธอาสน์ ด้วย
ความมุ่งหมายนี้ จึงได้เข้าไปเฝ้าพระชินสีห์ผู้องอาจกว่าฤษี. บทว่า ปสนฺโน
คือมีจิตเลื่อมใสพร้อมกับการเห็นเท่านั้น. บทว่า โมเนยฺยเสฏฺฐํ ปฏิปทา
อันประเสริฐของมุนี คือ ญาณชั้นสูงสุด อันได้แก่มรรคญาณ. บทว่า สมาคเต
อสิตวฺหยสฺส สาสเน คือในเมื่อคำอาทิผิด อักขระสั่งสอนของอสิตฤษีมาถึงเข้า. ก็เมื่อใด
นาลกดาบสประพฤติมรรคธรรม เมื่อนั้นก็จะถูกอสิตฤษีไปถามแล้วสอนว่า
ท่านจงประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเถิด. นี้แหละคือกาลนั้น.
ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า สมาคเต อสิตวฺหยสฺส สาสเน ดังนี้.
บทที่เหลือในคาถานี้ ปรากฏชัดแล้ว. พึงทราบการพรรณนาวัตถุคาถานี้ไว้
เพียงเท่านี้.
พึงทราบวินิจฉัยในสองคาถาอันเป็นคำถาม. บท อญฺญาตเมตํ
คือข้าพระองค์ได้รู้คำนี้แล้ว. บทว่า ยถาตถํ คือไม่วิปริต. อธิบายว่ากระไร
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论