星期二, 七月 12, 2022

Ya

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 58/884/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๔ อีกว่า :-
ท่านอาบดีแล้ว ลูบไล้ดีแล้ว เอิบอิ่มไป
ด้วยข้าวและน้ำ และมีแก้วไพฑูรย์อยู่ที่คอ
ได้ไปกชังคละประเทศมาหรือ.
บรรดาบทเหล่านั้น ด้วยบทว่า กณฺเฐ จ เต เวฬุริโย นี้
นกพิราบหมายเอา กระเบื้องนั่นแหละ กล่าวว่า แม้แก้วไพฑูรย์
ของอาทิผิด ท่านนี้ ก็ประดับอยู่ที่คอ. ตลอดกาลมีประมาณเท่านี้ ท่านไม่แสดง
แก้วไพฑูรย์นี้แก่เราเลย. ด้วยบทว่า กชงฺคลํ นี้ เมืองพาราณสีเท่านั้น
ท่านประสงค์เอาว่า กชังคละประเทศ ในที่นี้. นกพิราบถามว่า ท่าน
ออกจากที่นี้ไป ได้ไปยังภายในเมืองมาหรือ ?
ลำดับนั้น กาจึงกล่าวคาถาที่ ๕ ว่า :-
คนผู้เป็นมิตรหรือเป็นศัตรูของท่านก็ตาม
อย่าอาทิผิด สระได้ไปกชังคละประเทศเลย เพราะใน
กชังคละประเทศนั้น คนทั้งหลายถอนขน
ของเราออกแล้วผูกกระเบื้องกลมไว้ที่คอ.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปิญฺชานิ ได้แก่ ขนหางทั้งหลาย
บทว่า ตตฺถ ลายิตฺวา ความว่า ในนครพาราณสีนั้น ชนทั้งหลาย
ถอน. บทว่า วฏฺฏนํอาทิผิด อักขระ ได้แก่ กระเบื้อง.
นกพิราบได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาสุดท้ายว่า :-
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: