星期日, 十一月 06, 2022

Khropngam

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 36/134/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
มาตุคามนี้ มิใช่ผูกพันเพียงเท่านี้ แม้บวม
ขึ้น ตายไปแล้วก็ยังผูกพันชายได้ กามคุณ
๕ นี้ คือ รูป เสียง กลิ่น รส และ
โผฏฐัพพะ อันเป็นที่รื่นรมย์ใจ ย่อม
ปรากฏในรูปหญิง เหล่าชนผู้ถูกห้วงกาม
พัด ไม่กำหนดรู้กาม มุ่งคติในกาลและ
ภพน้อยภพใหญ่ในสงสาร ส่วนชน
เหล่าใดกำหนดรู้กาม ไม่มีภัยแต่ที่ไหน ๆ
เที่ยวไป ชนเหล่านั้นบรรลุถึงความสิ้น
อาสวะ ย่อมข้ามอาทิผิด สระฝั่งสงสารในโลกได้.
จบมาตุปุตติกสูตรที่ ๕
อรรถกถามาตุปุตติกสูตร
พึงทราบวินิจฉัยในมาตุปุตติกสูตรที่ ๕ ดังต่อไปนี้ :-
บทว่า ปริยาทาย ติฏฺฐติ ความว่า ย่อมครอบงำอาทิผิด สระคือยึดเอา ได้แก่
ให้ส่ายไปตั้งอยู่. บทว่า อุคฺฆานิตา ได้แก่ พองขึ้น.
บทว่า อสิหตฺเถน ความว่า แม้กับผู้ถือเอาดาบมา หมายตัดศีรษะ.
บทว่า ปิสาเจน ความว่าแม้กับยักษ์ที่มาหมายจะกิน. บทว่า อาสทฺเท แปลว่า
พึงแตะต้อง. บทว่า มญฺชุนา แปลว่า อันอาทิผิด อักขระอ่อนโยน. บทว่า กาโมฆวุฬฺหานํ
คือ อันโอฆะคือกามพัดพาไปคร่าไป. บทว่า กาลํ คตึ ภวาภวํ คือ ซึ่งคติ
และการมีบ่อย ๆ ตลอดกาลแห่งวัฏฏะ. บทว่า ปุรกฺขตา คือให้เที่ยวไป
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: