Mae
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 64/217/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เปรียบเหมือนตาชั่งที่กำลังชั่งของ ย่อมต่ำลงข้างหนึ่ง
เมื่อเอาของหนักออกเสีย ข้างที่ต่ำก็จะสูงขึ้นฉะนั้น.
นายวีชกะผู้เป็นทาสเห็นทุกข์ในตนวันนี้ เพราะ
ได้เสพบาปกรรม ที่ตนกระทำไว้ในปางก่อน บาป
ของเขาจะหมดสิ้น เขาจึงมายินดีในวินัยอย่างนั้น ทูล
กระหม่อมอย่าคบหากัสสปคุณาชีวก ทรงดำเนินทาง
ผิดเลยเพคะ.
[๘๖๒] ข้าแต่พระราชบิดา บุคคลคบคนเช่น
ใดๆ เป็นบุรุษผู้มีศีลหรืออสัตบุรุษผู้ไม่มีศีล เขาย่อม
ตกอยู่ในอำนาจของผู้นั้น บุคคลกระทำคนเช่นใด
ให้เป็นมิตร และเข้าไปคบหาคนเช่นใด แม้เขาก็ย่อม
เป็นเช่นคนนั้น เพราะการอยู่ร่วมกันย่อมเป็นเช่นนั้น
ได้ ผู้เสพย่อมติดนิสัยผู้ที่ตนเสพ ผู้ติดต่อย่อมติดนิสัย
ผู้ที่ตนติดต่อ เหมือนลูกศรอาบยาพิษย่อมเปื้อนแล่ง
ฉะนั้น.
นักปราชญ์ไม่ควรเป็นผู้มีคนลามกเป็นสหาย
เพราะกลัวจะแปดเปื้อน การเสพคนพาล ย่อมเป็น
เหมือนบุคคลเอาใบไม้ห่อปลาเน่า แม้ใบไม้ก็มีกลิ่น
เหม็นฟุ้งไป ฉะนั้น ส่วนการคบหาสมาคมกับนัก
ปราชญ์ย่อมเป็นเหมือนบุคคลเอาใบไม้ห่อของหอม
แม้อาทิผิด อาณัติกะใบไม้ก็มีกลิ่นหอมฟุ้งไป ฉะนั้น เพราะฉะนั้น
บัณฑิตรู้ความเป็นบัณฑิตของตนดังใบอาทิผิด สระไม้สำหรับห่อ
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论