星期四, 四月 07, 2011

Khit

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 26/207/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
คือความครุ่นคิด ในวิบากอันเป็นไปในภูมิ ๓ ทรงถือเอาด้วยคำว่า
“อนุเสติ ย่อมครุ่นคิด.” ในคำว่า “อนุเสติ” นี้ ทรงถือเอาผู้ที่ยัง
ละความครุ่นคิดไม่ได้. ข้อว่า “อารมฺมณเมตํ โหติ อารัมมณปัจจัยนั้น
ย่อมมี” หมายความว่าเมื่อความครุ่นคิดมีอยู่ ความครุ่นคิดนั้นจึงเป็น
ปัจจัย (แห่งกัมมวิญญาณ) โดยแท้ เพราะความเกิดขึ้นแห่งกัมมวิญญาณ
เป็นสิ่งที่ใครห้ามไม่ได้.
ในบทว่า “โน จ เจเตติ ก็ภิกษุไม่จงใจ” เป็นต้น กุศล-
เจตนาและอกุศลเจตนาอันเป็นไปในภูมิ ๓ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ใน
บทที่ ๑. ตัณหาและทิฏฐิในจิต ๘ ดวง ตรัสไว้ในบทที่ ๒. ความครุ่นคิด
ที่บุคคลครุ่นคิด โดยที่สุดที่ยังละไม่ได้ในธรรมมีประการดังกล่าวแล้ว ตรัส
ไว้ในบทที่ ๓.
อีกอย่างหนึ่ง เพื่อมิให้ฉงนในพระสูตรนี้ ควรทราบหมวด ๔
ดังนี้คือ ย่อมจงใจ ย่อมดำริ ย่อมครุ่นคิด หมวด ๑. ย่อมไม่จงใจ
แต่ดำริ และครุ่นคิด หมวด ๑. ย่อมไม่จงใจ ไม่ดำริ แต่ครุ่นคิดอาทิผิด อักขระ
หมวด ๑. ย่อมไม่จงใจ ไม่ดำริ และไม่ครุ่นคิด หมวด ๑. ในหมวด ๔
นั้น การกำหนดธรรม พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ในนัยที่ ๑.
กุศลเจตนาอันเป็นไปในภูมิ ๓ และอกุศลเจตนา ๔ ทรงถือเอาว่า
“ จงใจ” ในนัยที่ ๒. ตัณหาและทิฏฐิในจิต ๘ ดวง ทรงกล่าวว่า
“ไม่ดำริ” ความครุ่นคิด โดยที่สุดแห่งอุปนิสัยอาทิผิด อักขระในกุศลอันเป็นไปใน
ภูมิ ๓ ก็ดี โดยที่สุดแห่งปัจจัยที่เกิดพร้อมกันในอกุศลเจตนา ๔ ก็ดี
โดยที่สุดแห่งอุปนิสัยก็ดี ทรงถือเอาว่า “อนุสโย ครุ่นคิด.” กุศลและ
อกุศลที่เป็นไปในภูมิ ๓ ทรงกล่าวว่า “ไม่จงใจ” ในนัยที่ ๓. ตัณหาและ
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: