Samphawa
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 38/189/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
โลกแล้ว ได้รับอบรมแล้วด้วยสัญญานั้น จิตรู้ความเจริญและความเสื่อม
ของสัตวโลกแล้ว ได้รับอบรมแล้วด้วยสัญญานั้น จิตรู้ความเกิดและความ
ดับแห่งสังขารโลกแล้ว ได้รับอบรมแล้วด้วยสัญญานั้น จิตได้รับอบรม
ด้วยปหานสัญญา จิตได้รับอบรมด้วยวิราคสัญญา และจิตได้รับอบรมด้วย
นิโรธสัญญา เมื่อนั้น ภิกษุนั้นพึงหวังผลได้ ๒ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่ง
คือ อรหัตอาทิผิด สระผลในปัจจุบัน หรือเมื่อยังมีอุปาทานเหลืออยู่ เป็นพระอนา-
คามี.
จบปัพพชิตสูตรที่ ๙
อรรถกถาปัพพชิตสูตรที่ ๙
ปัพพชิตสูตรที่ ๙ พึงทราบวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
บทว่า ตสฺมา แปลว่า เพราะเหตุที่ประโยชน์แห่งสามัญญผล
[คุณเครื่องเป็นสมณะ] ไม่ถึงพร้อมแก่ผู้ที่มีจิตมิได้สร้างสมอย่างนี้ ฉะนั้น.
บทว่า ยถาปพฺพชฺชา ปริจิตญฺจ โน จิตฺตํ ภวิสฺสติ. ความว่า สร้างสม
มาโดยสมควรแก่การบวช จริงอยู่ คนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ชื่อว่าบวช
คนเหล่านั้นทั้งหมด ก็ปรารถนาพระอรหัต เพราะฉะนั้น จิตใดเขา
สร้างสมอบรมมาเพื่อประโยชน์แก่การบรรลุพระอรหัต จิตนั้นพึงทราบ
ว่า ชื่อว่าสร้างสมมาโดยสมควรแก่การบวช. เธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า
จิตของเราจักเป็นเช่นนี้. บทว่า โลกสฺส สมญฺจ วิสมญฺจ ได้แก่
สุจริตและทุจริตของสัตวโลก. บทว่า โลกสฺส สมฺภวอาทิผิด อักขระญฺจ วิภวญฺจ ได้แก่
ความเจริญและความเสื่อมของสัตวโลกนั้น อีกนัยหนึ่ง สมบัติและวิบัติ.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论