星期一, 四月 04, 2011

Tham

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 68/553/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ชื่อว่า ปุถุชน ด้วยเหตุมีกิเลสหนาเกิดขึ้น
เป็นต้น, เพราะกิเลสหนาหยั่งลงภายในของปุถุชน
ฉะนั้น ชนนี้จึงเป็นผู้มีกิเลสหนา.
แม้ในการก้าวลงสู่ฌานอันเป็นลักษณะของปุถุชนดังกล่าวแล้ว ท่านก็
กล่าวว่า
ทุเว ปุถุชฺชน วุตฺตา พทฺเธนฺทิจฺจพนฺธุนา
อนฺโธ ปุถุชฺชโน เอโก กลฺยาเณโก ปุถุชฺชโน.
พระพุทธเจ้าผู้เป็นเผ่าพันธุ์พระอาทิตย์
ตรัสถึงปุถุชนไว้ ๒ ประเภท คือ อันธปุถุชน - ปุถุ-
ชนคนโง่เขลา และกัลยาณปุถุชน - ปุถุชนคนดี.
ในปุถุชนสองประเภทดังกล่าวแล้ว ท่านอธิบายไว้ว่า ศีลของ
กัลยาณปุถุชน ผู้เป็นปุถุชนอาทิผิด อักขระมีกัลยาณธรรมตั้งอยู่ในความเป็นกัลยาณ
ปุถุชน ล่วงเลยความเป็นอันธปุถุชนด้วยการประพฤติกัลยาณธรรมอาทิผิด อักขระ
อีกอย่างหนึ่ง ผู้มีกัลยาณธรรมในหมู่ปุถุชน ชื่อว่า ปุถุชฺชนกลฺยาณ
กานํ.
กุสล ศัพท์ในบทนี้ว่า กุสลธมฺเม ยุตฺตานํ ย่อมปรากฏใน
ความไม่มีโรค ความไม่มีโทษ ความฉลาด และผลของความสุข. กุสล
ศัพท์ ปรากฏในความไม่มีโรค ในบทมีอาทิว่า กจฺจิ นุ โภโต กุสลํ,
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: