星期日, 四月 03, 2011

Patipajjanti

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 33/212/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อวิชชา.
บทว่า เย ลภนฺติ ตถาคตํ ทสฺสนาย ความว่า สัตว์เหล่าใด
รู้คุณของพระตถาคต ย่อมได้เห็นพระตถาคตด้วยจักขุวิญญาณ.
บทว่า ตถาคตปฺปเวทิตํ ความว่า อันพระตถาคตประกาศแล้ว
คือ ตรัสประกาศไว้แล้ว. บทว่า สวนาย ได้แก่ เพื่อสดับด้วยโสต-
บทว่า ธาเรนฺติ ได้แก่ ไม่หลงลืมพระธรรมวินัยนั้น. บทว่า
ธตานํ ธมฺมานํ อตฺถํ อุปปริกฺขนฺติ ความว่า สอบสวนอรรถและ
มิใช่อรรถะแห่งพระบาลีโดยคล่องแคล่ว. บทว่า อตฺถมญฺญาย ธมฺม-
มญฺญาย ได้แก่ รู้อรรถกถาและบาลี. บทว่า ธมฺมานุธมฺมํ ปฏิปชฺชนฺติอาทิผิด
ได้แก่ บำเพ็ญปฏิปทาอันสมควร.
บทว่า สํเวชนีเยสุ ฐาเนสุ ได้แก่ ในเหตุอันน่าสังเวช. บทว่า
สํวิชฺชนฺติ ความว่า ย่อมถึงความสังเวช. บทว่า โยนิโส ปทหนฺติ
ความว่า กระทำปธานะ คือ ความเพียรอันตั้งไว้โดยอุบาย.
บทว่า ววสฺสคฺคารมฺมํ ความว่า พระนิพพานเรียกว่า ววัสสัคคะ
(เป็นที่สละสังขาร) กระทำพระนิพพานนั้นให้เป็นอารมณ์. บทว่า
ลภนฺติ สมาธึ ความว่า ย่อมได้มรรคสมาธิและผลสมาธิ.
บทว่า อนฺนคฺครสคฺคานํ ได้แก่ ข้าวอย่างดีและรสอย่างดี. บทว่า
อุญฺเฉน กปาลภตฺเตน ยาเปนฺติ ความว่า ย่อมยังอัตภาพให้เป็นไป
ด้วยรากไม้ และผลไม้น้อยใหญ่ในป่า หรือด้วยภัตตาหารที่ตนนำมาแล้ว
ด้วยภาชนะกระเบื้อง โดยการแสวงหา ก็ในเรื่องนี้ บุคคลใดเมื่อจิต
เกิดต้องการของเคี้ยวของกิน อะไร ๆ ก็ไม่ได้ของนั้นในทันที บุคคลนี้
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: