turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 63/123/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ประดาด้วยอลังการอันวิจิตร มีคนประจำรถถือศร
สวมเกราะ ออกบวช ความประสงค์นั้นจักสำเร็จได้
เมื่อไรหนอ.
เมื่อไรเราจักละกองรถม้า ซึ่งติดเครื่องรบชักธง
ประจำ หุ้มหนังอาทิผิด สระเสือเหลืองและเสือโคร่ง ประดับ
ประดาด้วยอลังการอันวิจิตร มีคนประจำถือศรสวม
เกราะ ออกบวช ความประสงค์นั้น จักสำเร็จได้
เมื่อไรหนอ.
เมื่อไรเราจักละกองรถเทียมอูฐ ซึ่งติดเครื่องรบ
ชักธงประจำ หุ้มหนังเสือเหลืองและเสือโคร่ง ประดับ
ประดาด้วยอลังการอันวิจิตร มีคนประจำถือศรสวม
เกราะ ออกบวช ความประสงค์นั้น จักสำเร็จได้
เมื่อไรหนอ.
เมื่อไรเราจักละกองรถเทียมแพะ แกะ เนื้อ โค
ซึ่งติดเครื่องรบ ชักธงประจำ หุ้มหนังเสือเหลืองและ
เสือโคร่ง ประดับประดาด้วยอลังการอันวิจิตร มีคน
ประจำถือศรสวมเกราะ ออกบวช ความประสงค์นั้น
จักสำเร็จได้เมื่อไรหนอ.
เมื่อไรเราจักละกองฝึกช้าง ถือโตมรและของ้าว
กองฝึกม้าทรงเครื่องประดับทองคำ กองพลธนูถือ
คันธนูพร้อมทั้งแล่งธนู เหล่าราชบุตรทรงเครื่อง
ประดับทองคำ ทั้งสี่เหล่านี้ล้วนประดับด้วยเครื่อง
สรรพาลังการ เป็นผู้กล้าหาญสวมเกราะมีวรรณะเขียว
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/327/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ลม หรือไฟ ย่อมปรากฏเพราะความที่หญ้าและต้นไม้เป็นต้นหักโค่นอาทิผิด อาณัติกะทลายแล้ว
หรือถูกไฟไหม้ และทางที่เป็นไปแล้วนั้นมิใช่น้ำเป็นต้นเหล่านั้นเลย ข้อนี้
ฉันใด ทางเดินของเรา ก็อาทิผิด อาณัติกะฉันนั้นเหมือนกันย่อมปรากฏในที่มีฟันเป็นต้น ด้วย
อำนาจลักษณะมีภาวะที่หักเป็นต้น ใคร ๆ แม้ลืมตาก็รู้ได้ แต่ลักษณะมีภาวะ
ที่ฟันหักเป็นต้นเท่านั้น มิใช่ชรา เพราะชรามิใช่สิ่งที่พึงรู้แจ้งด้วยตา.
อนึ่ง ชรานั้น พระองค์ทรงแสดงโดยปกติ กล่าวคือความสิ้นอายุ
และความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์มีจักษุเป็นต้น ซึ่งปรากฏเฉพาะในเมื่อล่วงกาล
ผ่านไปเท่านั้น ด้วยบทเหล่านี้ว่า อายุโน สํหานิ อินฺทฺริยานํ ปริปาโก
(ความเสื่อมสิ้นแห่งอายุ และความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์) เพราะเหตุนั้น
สองศัพท์หลังเหล่านั้น พึงทราบว่า เป็นศัพท์อธิบายความตามปกติของชรานั้น
บรรดาบททั้ง ๒ (คือความเสื่อมสิ้นแห่งอายุและความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์) นั้น
เพราะอายุของผู้ถึงชราแล้วย่อมเสื่อม ฉะนั้น ชรา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัส
โดยผลูปจารนัยว่า ความเสื่อมสิ้นแห่งอายุ. อนึ่ง เพราะอินทรีย์มีจักษุ
เป็นต้น ในเวลาที่ยังเป็นหนุ่มเป็นของผ่องใสดี สามารถรับวิสัยของตน
แม้ละเอียดได้โดยง่ายที่เดียว เมื่อเขาถึงชราแล้ว เป็นอินทรีย์หง่อมแล้ว
สับสนไม่คล่องแคล่ว ไม่สามารถรับวิสัยของตนแม้หยาบได้ ฉะนั้น พระองค์
จึงตรัสว่า อินฺทฺริยานํ ปริปาโก (ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์) โดยผลู-
ปจารนัยที่เดียว.
ว่าด้วยชรา ๒ อย่าง
อนึ่ง ชราแม้ทั้งหมด ที่ทรงยกขึ้นแสดงไว้อย่างนี้นั้นมี ๒ อย่าง คือ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 54/137/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๔. อรรถกถาสุนทรีนันทาเถรีคาถา
คาถาว่า อาตุรํ อสุจึ เป็นต้น เป็นคาถาของพระเถรีชื่อสุนทรี
นันทา.
เล่ากันว่า แม้พระเถรีชื่อสุนทรีนันทาองค์นี้ก็บังเกิดในเรือนตระกูล
ในพระนครหังสวดี เธอรู้ความแล้ว ฟังธรรมในสำนักของพระศาสดา เห็น
พระศาสดาทรงตั้งภิกษุณีองค์หนึ่ง ในตำแหน่งเป็นเลิศของภิกษุณีทั้งหลายผู้
ได้ฌาน จึงสร้างสมบุญญาธิการปรารถนาตำแหน่งนั้น สั่งสมกุศลท่องเที่ยว
ในเทวโลกและมนุษยโลกอยู่หนึ่งแสนกัป ในพุทธุปปาทกาลนี้บังเกิดในศากย-
ราชตระกูล พระญาติทั้งหลายตั้งนามให้เธอว่า นันทา.
กาลต่อมา รู้กันทั่วไปว่า นันทาผู้สวยงามและสาวงามของชนบท ใน
ห้อง ๑๒ ศอกที่มืดมิดอาทิผิด อักขระไม่ต้องใช้ประทีป ดุจพระเถรีภัททกาปิลานี สว่างด้วย
แสงสว่างของสรีระ เป็นผู้ทรงยศงดงามด้วยคุณตั้งร้อยกว่าแสงสว่างเหล่านั้น.
นางสุนทรีนันทานั้น เมื่ออาทิผิด พระผู้มีพระภาคเจ้าของเราทั้งหลายบรรลุ
ความเป็นพระสัพพัญญูแล้ว เสด็จไปกรุงกบิลพัสดุ์โดยลำดับ ทรงให้นันท-
กุมารและราหุลกุมารบวชแล้วเสด็จไป เมื่อพระเจ้าสุทโธทนมหาราชเสด็จปริ-
นิพพานแล้ว เมื่อพระมหาปชาบดีโคตมีและพระพิมพาราหุลมารดาบวชแล้ว
เธอคิดว่า พระเชษฐภาคา ของเราทรงละความเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ บวชเป็น
พระพุทธเจ้าผู้อัครบุคคลในโลก แม้ราหุลกุมารพระโอรสของพระองค์ก็บวช
เจ้านันทราชภัสดาของเราก็ดี พระมหาปชาบดีโคตมีพระมารดาก็ดี ราหุลมารดา
พระภคินีก็ดี ก็บวชกันหมดแล้ว บัดนี้เราจักทำอะไรในเรือน เราจักบวช
เธอไปสำนักภิกษุณี บวชด้วยความรักพวกพระญาติ ไม่ได้บวชด้วยศรัทธา
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 29/207/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
และอรูปาวจรนั้น ไม่อาจที่จะแผ่ไปถึงกรรมที่เป็นรูปาวจรและอรูปาวจร
แล้วยึดถือเป็นโอกาสของตนตั้งอยู่ ที่แท้ กรรมที่เป็นรูปาวจรและอรูปาวจร
นั่นเอง ย่อมแผ่ทับกรรมที่เป็นกามาวจรเข้าตั้งแทนที่ เหมือนห้วงน้ำใหญ่
แผ่น้ำไปทีละน้อยเข้าตั้งแทนที่ ห้ามวิบากของกรรมที่เป็นกามาวจรนั้น
แล้วนำเข้าถึงความเป็นสหายกับพรหมในสมัยนั่นแล พระอาทิผิด สระสูตรที่ดำเนินไป
ตามอนุสนธิทีเดียว เพราะตอนต้นเริ่มด้วยอำนาจกิเลส ตอนท้ายถือเอา
ด้วยอำนาจพรหมวิหาร.
จบ อรรถกถาอสังขาสูตรที่ ๘
๙. กุลสูตร
ว่าด้วยเหตุปัจจัย ๘ อย่าง ทำให้ตระกูลคับแค้น
[๖๒๐] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จจาริกไปในโกศล
ชนบท พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์เป็นอันมาก เสด็จถึงนาฬันทคาม ได้ยินว่า
สมัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอาทิผิด อักขระอยู่ ณ ปาวาริกอัมพวันใกล้นาฬันทคาม
สมัยนั้นแล ชาวนาฬันทคามมีภิกษาหาได้ยาก เลี้ยงชีวิตอยู่ได้โดยฝืดเคือง
เกลื่อนกลาดด้วยกระดูก ต้องจับจ่ายด้วยสลาก (บัตรปันส่วน) สมัยนั้นแล
นิครณฐ์นาฏบุตรอาศัยอยู่ในนาฬันทคาม พร้อมด้วยบริษัทนิครณฐ์เป็น
อันมาก ครั้งนั้น นายบ้านนามว่าอสิพันธกบุตร สาวกนิครณฐ์ เข้าไปหา
นิครณฐ์นาฏบุตรยังที่อยู่ ไหว้แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว
นิครณฐ์นาฏบุตรได้พูดกับนายคามณีอสิพันธกบุตรว่า มาเถิดนายคามณี
จงยกวาทะแก่พระสมณโคดม กิตติศัพท์อันงามของท่านจักขจรไปอย่างนี้ว่า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 81/301/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ส. เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ ส่วนหนึ่งสัมปยุตด้วยจิต อีก
ส่วนหนึ่งเป็นจิตตวิปปยุต หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๑๔๕๓] ป. ไม่พึงกล่าวว่า ญาณเป็นจิตตวิปปยุต หรือ ?
ส. ถูกแล้ว.
ป. พระอรหันต์ ผู้พร้อมเพรียงด้วยจักขุวิญญาณ พึง
กล่าวว่า ผู้มีญาณ หรือ ?
ส. ถูกแล้ว.
ป. ญาณ สัมปยุตด้วยจิตนั้น หรือ ?
ส. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ป. ถ้าอย่างนั้น ญาณก็เป็นจิตตวิปปยุต น่ะสิ.
ส. พระอรหันต์ ผู้พร้อมเพรียงด้วยจักขุอาทิผิด อักขระวิญญาณ พึง
กล่าวว่า ผู้มีปัญญา หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. ปัญญา สัมปยุตด้วยจิตนั้น หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ส. ถ้าอย่างนั้น ปัญญาก็เป็นจิตตวิปปยุต น่ะสิ.
ญาณังจิตตวิปปยุตตันติกถา จบ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 62/517/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จับตรงกลางพาบินไป ด้วยความประสงค์ว่า พญานกปุณณมุขะนั้นอย่าได้มี
ความเหน็ดเหนื่อยในหนทางไกลเลย นางนกดุเหว่า ๕๐ ตัว บินไปเบื้องต่ำ
ด้วยความประสงค์ว่า ถ้าพญานกปุณณมุขะนี้จักพลาดจากคอน พวกเราจัก
เอาปีกทั้งสองรับไว้ นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินขึ้นไปข้างบนด้วยความ
ประสงค์ว่า แสงแดดอย่าได้แผดเผานกดุเหว่าขาวอาทิผิด อักขระชื่อปุณณมุขะนั้นเลย นาง
นกดุเหว่าบินไปโดยข้างทั้งสองข้างละ ๕๐ ตัว ด้วยความประสงค์ว่า ความหนาว
ความร้อน หญ้า ธุลีหรือน้ำค้าง อย่าได้ตกต้องนกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะ
นั้นเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินขึ้นไปข้างอาทิผิด อักขระหน้าด้วยความประสงค์ว่า
คนเลี้ยงโค คนเลี้ยงปศุสัตว์ คนเกี่ยวหญ้า คนหาฟืน หรือคนทำงานในป่า
อย่าได้ขว้างปานกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะนั้นด้วยท่อนไม้ กระเบื้อง ก้อนหิน
ก้อนดิน ไม้ค้อน ศาสตรา หรือก้อนกรวดเลย และนกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะ
นี้ อย่าได้กระทบกับกอไม้ เถาวัลย์ ต้นไม้ กิ่งไม้ เสา หิน หรือกับนก
ที่มีกำลังมากกว่าเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินไปข้างหลังเจรจาด้วยวาจา
อันเกลี้ยงเกลา อ่อนหวาน ไพเราะจับใจ ด้วยความประสงค์ว่า นกดุเหว่า
ขาวชื่อปุณณมุขะนี้อย่าเงียบเหงาบนคอนเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินไป
ยังทิศานุทิศ นำเอาผลไม้นานาชนิดจากต้นไม้ต่าง ๆ มาให้ด้วยความประสงค์
ว่า นกดุเหว่าชื่อปุณณมุขะนี้ อย่าได้ลำบากเพราะความหิวเลย ได้ยินว่า
นางนกดุเหว่าเหล่านั้น พานกดุเหว่าขาวอาทิผิด อักขระชื่อปุณณมุขะนั้น จากป่านี้ไปสู่ป่าโน้น
จากสวนนี้ไปสู่สวนโน้น จากท่าน้ำนี้ไปสู่ท่าน้ำโน้น จากยอดเขานี้ไปสู่ยอดเขา
โน้น จากสวนมะม่วงนี้ไปสู่สวนมะม่วงโน้น จากสวนชมพู่นี้ไปสู่สวนชมพู่โน้น
จากสวนขนุนสำมะลอนี้ไปสู่สวนขนุนสำมะลอโน้น จากสวนมะพร้าวนี้ไปสู่
สวนมะพร้าวโน้น โดยรวดเร็ว เพื่อต้องการให้ร่าเริง ได้ยินว่า นกดุเหว่า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 85/202/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ตีณิ ฯเปฯ อวิคเต ตีณิ ท่านก็วางเหตุปัจจัยแม้อยู่ข้างหน้าของอารัมมณ-
ปัจจัยไว้ข้างหลัง แล้วกล่าวว่า อารมฺมณปจฺจยา เหตุยา ตีณิ เพราะ
อารัมมณปัจจัย ในเหตุปัจจัยมี ๓ วาระ เพื่อแสดงปัจจัยที่มีวิธีนับมาก
มีเหตุปัจจัยเป็นต้น และวิธีนับที่หาได้ในการเทียบเคียงปัจจัยเหล่านั้น.
ปัจจัยที่มีวิธีการนับน้อยกว่าและเท่ากัน. คำนี้ย่อมแจ่มแจ้งด้วยอธิบายนั้น.
อารัมมณปัจจัยย่อมถึงความต่างกัน โดยเป็นทุกะและติกะ เพราะวิธีการนับ
ที่มากกว่าหรือเท่ากับปัจจัยใด ๆ ในปัจจัยนั้นทั้งหมด พึงทราบว่ามีปัญหา
และวิสัชนา ๓ ข้อเท่านั้น. ส่วนในการเทียบเคียงกับวิปากปัจจัย ย่อมได้
ปุจฉาและวิสัชนาข้อเดียวเท่านั้น ข้อนั้นท่านอาทิผิด อักขระไม่ได้แสดงไว้ในอธิการนี้ว่า
จักมีแจ้งในการนับเกี่ยวกับวิปากปัจจัยเป็นต้น และการนับที่ท่านแสดงไว้
ในปัจจัยที่มีมูล ๒ นี้แหละ เป็นวิธีนับในปัจจัยที่มีมูล ๓ เป็นต้นด้วย
เพราะฉะนั้น ปัจจัยที่มีมูล ๓ เป็นต้น ท่านจึงไม่อธิบายไว้อย่างพิสดาร
ด้วยอำนาจอารัมมณปัจจัย.
บัดนี้ ท่านกล่าวคำมีอาทิว่า อธิปติปจฺจยา เหตุยา นว เพราะ
อธิปติปัจจัย ในเหตุปัจจัยมี ๙ วาระ เพื่อจะแสดงวิธีนับ ในปัจจัยที่มีมูล ๒
เป็นต้น ด้วยอำนาจอธิปติปัจจัยเป็นต้น พึงทราบนิทเทสแห่งปัจจัยตาม
นัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้วในเหตุปัจจัยนั้นนั่นแล ก็เพราะอธิปติปัจจัย
(เป็นมูล) เหตุปัจจัยมีปุจฉาและวิสัชนา ๙ ข้อฉันใด ในปัจจัยที่มีวิธีอาทิผิด นับ
เท่ากับเหตุปัจจัยที่เหลือก็มี ๙ ข้อฉันนั้น ดังที่ได้อธิบายมาแล้วนี้ ในการ
เทียบเคียงปัจจัย ที่มีวิธีนับเท่ากับปัจจัยที่มีอยู่ในอันดับแรก การนับย่อม
มีด้วยอำนาจแห่งปัจจัย ที่อยู่ในอันดับแรก ผู้ศึกษาพึงทราบว่า ก็ในการ
เทียบเคียงปัจจัยมีการนับน้อยกว่ากับปัจจัยที่เป็นตัวตั้งนั้น จำนวนย่อมมี
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/214/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
โกศลแม้ทั้ง ๒ จักแจ่มแจ้งในสติปัฏฐานวิภังค์ข้างหน้า.
ก็กุลบุตรผู้มีกรรมฐานอันเรียนเอาอย่างนี้ พึงเว้นเสนาสนะที่เป็นโทษ
๑๘ แห่ง ความที่กล่าวไว้ในวิสุทธิมรรค อยู่ในเสนาสนะประกอบด้วยองค์ ๕
แม้ตนอาทิผิด อักขระเองก็ประกอบด้วยองค์แห่งภิกษุผู้ประกอบความเพียร ๕* กลับจาก
บิณฑบาตในเวลาภายหลังภัตแล้ว เข้าไปสู่ที่โอกาสอันสงัดมนสิการกรรมฐาน
ก็กุลบุตรนั้นเมื่อมนสิการพึงมนสิการโกฏฐาส แต่อาทิผิด อักขระละอย่างในบรรดาโกฏฐาส
ทั้งหลายมีผมเป็นต้น ด้วยสามารถแห่งสี สัณฐาน ทิศ โอกาส และ
ปริจเฉท ในกาลเป็นที่สุด พึงให้มนสิการเป็นไปอย่างนี้.
ว่าด้วยวิธีมนสิการเกสา (ผมทั้งหลาย)
ธรรมดา เกสา คือผมทั้งหลายเหล่านั้นเกิดในหนังหุ้มกะโหลกศีรษะ
ในผมทั้งหลายเหล่านั้น. พระโยคีพึงมนสิการว่า บรรดาหญ้าแฝกหอมทั้งหลาย
ซึ่งเกิดบนจอมปลวก จอมปลวกย่อมไม่รู้ว่า หญ้าแฝกหอมทั้งหลายเกิด
ในเรา แม้หญ้าแฝกหอมเล่าก็ไม่รู้ว่า พวกเราเกิดบนจอมปลวก ดังนี้
ฉันใด หนังหุ้มกะโหลกศีรษะก็ฉันนั้นเหมือนกัน ย่อมไม่รู้ว่า ผมทั้งหลาย
เกิดในเรา แม้ผมทั้งหลายเล่าก็ไม่รู้ว่า พวกเราเกิดในหนังหุ้มกะโหลก
ศีรษะ ดังนี้ ธรรมเหล่านั้น เว้นจากความคิดและพิจารณาซึ่งกันและกัน
เพราะฉะนั้น ขึ้นชื่อว่าผมทั้งหลายที่เป็นโกฏฐาส (ส่วน) หนึ่งโดยเฉพาะใน
สรีระนี้ ไม่มีเจตนา เป็นอัพยากตะ เป็นของอาทิผิด อักขระสูญ ไม่ใช่สัตว์ เป็นธรรมชาติ
แข็ง ชื่อว่า ปฐวีธาตุ ดังนี้.
* ในที่นี้ที่ท่านไม่ได้บอกไว้ ผู้แปลได้นำมาจากหมวดธรรมในพระไตรปิฏกกล่าวว่ามี ๕ เหมือนกัน
คือ ๑. มีศรัทธา ๒. มีโรคน้อยเป็นผู้อดทน ๓. เป็นผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมายา ๕ มีความเพียร
ไม่ท้อถอย ๕ มีปัญญา มีความสามารถเห็นความเกิดดับ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 79/349/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[๑๑๖] บุคคลเปรียบด้วยมะม่วง ๔ ชนิด มีปรากฏอยู่ในโลก
ฉันนั้นเหมือนกัน.
บุคคล ๔ จำพวก เป็นไฉน ?
บุคคลเช่นมะม่วงดิบ แต่มีสีเป็นมะม่วงสุก ๑
บุคคลเช่นมะม่วงสุก แต่มีสีเป็นมะม่วงดิบ ๑
บุคคลเช่นมะม่วงดิบ มีสีก็เป็นมะม่วงดิบ ๑
บุคคลเช่นมะม่วงสุก มีสีก็เป็นมะม่วงสุก ๑
๑. บุคคล ผู้เป็นเช่นมะม่วงดิบ แต่มีสีเป็นมะม่วงสุก
เป็นไฉน ?
บุคคลบางคนในโลกนี้ มีการก้าวไปข้างหน้า ถอยหลังแลตรง เหลียว
ซ้ายแลขวา คู้เข้าเหยียดออก ทรงสังฆาฏิบาตรและจีวร น่าเลื่อมใสอาทิผิด อักขระ บุคคล
นั้นไม่รู้ตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคา-
มินีปฏิปทา บุคคลอย่างนี้ชื่อว่า เป็นเช่นมะม่วงดิบ แต่มีสีเป็นมะม่วงสุก
มะม่วงดิบแต่มีสีเป็นมะม่วงสุกนั้น แม้ฉันใด บุคคลนี้ก็มีอุปไมย ฉันนั้น.
๒. บุคคลผู้เป็นเช่นมะม่วงสุก แต่มีสีเป็นมะม่วงดิบ
เป็นไฉน ?
บุคคลบางคนในโลกนี้ มีการก้าวไปข้างหน้า ถอยหลังแลตรง เหลียว
ซ้ายแลขวา คู้เข้าเหยียดออก ทรงสังฆาฏิบาตรและจีวร ไม่น่าเลื่อมใสอาทิผิด อักขระ บุคคล
นั้นรู้ตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคา-
มินีปฏิปทา บุคคลอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นเช่นมะม่วงสุก แต่มีสีเป็นมะม่วงดิบ
มะม่วงสุกแต่มีสีเป็นมะม่วงดิบนั้น ฉันใด. บุคคลนี้ก็มีอุปไมย ฉันนั้น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/466/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เมื่อบุรุษอาบน้ำดีแล้ว เอาผ้าสะอาดคลุมตลอดศีรษะ ไออุ่นแต่ศีรษะย่อม
แผ่ไปทั่วผ้าทั้งผืนทีเดียว ไม่มีส่วนไร ๆ ของผ้าที่ไออุ่นจะไม่ถูกต้อง
ฉันใด กรชกายของภิกษุก็ฉันนั้น ไม่มีส่วนไร ๆ ที่ความสุขในจตุตถฌาน
จะไม่ถูกต้อง ในข้อนี้พึงเห็นเนื้อความอย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้.
ก็การพรรณนาตามลำดับบทและนัยแห่งภาวนาของฌาน ๔ เหล่านี้
กล่าวไว้แล้วในวิสุทธิมรรค ฉะนั้น จะไม่กล่าวให้พิสดารในที่นี้.
ก็ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ ภิกษุนี้ บัณฑิตพึงทราบว่า เป็นผู้ได้รูปฌาน
เท่านั้น ยังหาได้อรูปฌานไม่. ด้วยว่า เว้นความเป็นผู้ชำนาญในสมาบัติ
ทั้ง ๘ โดยอาการ ๑๔ เสียแล้ว การบรรลุอภิญญาชั้นสูงจะมีไม่ได้ แต่ใน
พระบาลีมาเฉพาะรูปฌานเท่านั้น จึงควรนำอรูปฌานมากล่าวด้วย.
ภิกษุนั้น ในคำว่า โส เอวํ สมาหิเต จิตฺเต ฯเปฯ อาเนญฺชปฺ-
ปตฺเต นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงอาทิผิด อักขระว่า ได้แก่ภิกษุผู้มีความชำนาญ
ในสมาบัติ ๘ โดยอาการ ๑๔ อันเธอได้สั่งสมแล้ว. คำที่เหลือในพระบาลี
นี้ พึงทราบตามนัยที่กล่าวแล้วในวิสุทธิมรรคนั่นแล.
ในพระบาลีว่า าณทสฺสนาย จิตฺตํ อภินีหรติ นี้ คำว่า ญาณ-
ทัสสนะ ท่านกล่าวหมายถึงมรรคญาณก็ได้อาทิผิด อักขระ ผลญาณก็ได้ สัพพัญญุตญาณ
ก็ได้ ปัจจเวกขณญาณก็ได้ วิปัสสนาญาณก็ได้.
ก็มรรคญาณ ท่านเรียกว่า ญาณทัสสนะอาทิผิด สระ ในพระบาลีนี้ว่า ดูก่อน
อาวุโส ย่อมประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาคเจ้าเพื่อความบริสุทธิ์
แห่งญาณทัสสนะอาทิผิด สระหรือหนอแล.
ผลญาณ ท่านเรียกว่า ญาณทัสสนะ ในพระบาลีนี้ว่า อุตตริ-.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 21/51/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ให้ดำรงอยู่. บทว่า อนนฺตรหิตาย ความว่า เพราะไม่ต้องการด้วยเครื่อง
ลาดอะไร ๆ. บทว่า ปริจาเรหิ ความว่าทะนุบำรุงดนตรีการฟ้อนและนักฟ้อน
เป็นต้น บำเรอตัวตามความสุขพร้อมด้วยเหล่าสหายในที่นั้น อธิบายว่า นำ
เข้าไปที่โน้นที่นี่. อีกอาทิผิด อักขระนัยหนึ่ง บทว่า ปริจาเรหิ ท่านอธิบายว่า ทะนุบำรุง
ดนตรีการฟ้อนและนักฟ้อนเป็นอาทิผิด สระต้น ร่าเริงยินดีเล่นกับเหล่าสหาย. บทว่า
กาเม ปริภุญฺชนฺโต ความว่า บริโภคโภคะพร้อมกับบุตรภริยาของตน. บทว่า
ปุญฺานิ กโรนฺโต ความว่า ปรารภพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์
กระทำกุศลกรรมชำระทางไปสู่สุคติ มีการมอบถวายทานเป็นต้น. บทว่า ตุณฺหี
อโหสิอาทิผิด ได้แก่ ไม่พูดจาปราศรัย เพื่อตัดการพูดต่อไป. ครั้งนั้น มารดาบิดา
ของเขาพูด ๓ ครั้งไม่ได้แม้คำตอบ จึงให้เรียกสหายมาพูดว่า สหายของเจ้า
นั้นอยากจะบวช ห้ามเขาทีเถอะ. แม้สหายเหล่านั้นเข้าไปหาเขาแล้ว พูด ๓
ครั้ง. แม้สำหรับสหายเหล่านั้น เขาก็นิ่ง. ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า อถโข
รฏฺฐปาลสฺส กุลปุตฺตสฺสอาทิผิด สหายกา ฯเปฯ ตุณฺหี อโหสิ.
ครั้งนั้น เหล่าสหายของเขาก็คิด อย่างนี้ว่า ถ้าเพื่อนผู้นี้ไม่ได้บวช
ก็จักตายไซร้ เราก็จักไม่ได้คุณอะไร ๆ แต่เขาบวชแล้ว ทั้งมารดาบิดาก็จัก
เห็นเป็นครั้งคราวทั้งเราก็จักเห็น ก็ธรรมดาว่าการบรรพชานี้เป็นของหนัก
เขาจะต้องถือบาตรเดินไป เที่ยวบิณฑบาตอาทิผิด อักขระทุกวัน ๆ พรหมจรรย์ที่มีการ
นอนหนเดียว กินหนเดียว หนักนักหนา ก็เพื่อนของเรานี้เป็นชาวเมือง
สุขุมาลชาติ เขาเมื่อไม่อาจประพฤติพรหมจรรย์นั้นได้ ก็จะต้องมาในที่นี้อีก
แน่แท้ เอาเถอะเราจักให้มารดาบิดาของเขาอนุญาต. สหายเหล่านั้นได้กระทำ
อย่างนั้น . แม้มารดาบิดา กระทำกติกาสัญญานี้ว่า ก็เขาบวชแล้ว พึงอุทิศ
มารดาบิดา จึงอนุญาตเขา. ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า อถโข รฏฺปาลสฺส
กุลปุตฺตสฺส สหายา เยน รฏฺปาลสฺส กุลปุตฺตสฺส มาตาปิตโร ฯเปฯ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 78/126/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
นั่นแหละ. เมื่อยังมนสิการให้เป็นไป มากในเมตตาเจโตวิมุตตินั้น ย่อมละ
พยาบาทได้. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย เมตตาเจโตวิมุตติอยู่ การกระทำให้มากซึ่งโยนิโสมน-
สิการในเมตตาเจโตวิมุตตินั้น นี้เป็นอาหารเพื่อให้พยาบาทที่ยังไม่เกิด
ไม่ให้เกิดขึ้น หรือว่า เพื่อการละพยาบาทที่เกิดขึ้นแล้ว ดังนี้.
อีกอย่างหนึ่ง ธรรม ๖ ประการย่อมเป็นไปเพื่อการละพยาบาท คือ
๑. การเรียนเมตตานิมิต
๒. การประกอบเนือง ๆ ในเมตตาภาวนา
๓. การพิจารณากัมมัสสกตา
๔. การกระทำการใคร่ครวญให้มาก
๕. ความเป็นผู้มีกัลยาณมิตร
๖. สัปปายกถา
จริงอยู่ แม้เมื่อเรียนเมตตา ด้วยสามารถแห่งการแผ่ไปสู่ทิศโดยเจาะ
จงและไม่เจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมละพยาบาทได้. แม้เมื่อเจริญอาทิผิด อักขระเมตตา
ด้วยสามารถแห่งการแผ่ไปสู่ทิศเจาะจงและไม่เจาะจง ก็ย่อมละพยาบาทได้. แม้
เมื่อพิจารณากัมมัสสกตา ของตนและของผู้อื่น อย่างนี้ว่า ท่านโกรธ
เขาแล้วจักทำอะไร จักอาจเพื่อยังคุณมีศีลเป็นต้นของเขาให้พินาศ
ไปได้หรือ ท่านมาด้วยกรรมของตน ท่านก็จักไปด้วยกรรมของตน
นั่นแหละ มิใช่หรือ. ขึ้นชื่อว่า ความโกรธผู้อื่น ย่อมเป็นเช่นกับผู้ต้อง
การจับถ่านเพลิงที่ปราศจากเปลว จับซี่เหล็กอันร้อนและคูถเป็นต้นแล้วประ-
หารผู้อื่น แม้อาทิผิด อาณัติกะความโกรธของท่านนี้จักทำอะไร จักอาจเพื่อยังคุณมี
ศีลเป็นต้นของเราไห้พินาศไปได้หรือ เรามาด้วยกรรมของตนแล้ว
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 78/127/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จักไปด้วยกรรมของตนเท่านั้น ความโกรธนี้จักตกไปเบื้องบนของเขา
แน่นอน เหมือนกับของขวัญที่บุคคลไม่ยอมรับ และเหมือนกับกำธุลีซัดไป
ทวนลม ดังนี้ ก็ย่อมละความโกรธได้. เมื่อตั้งอยู่ในความใคร่ครวญพิจารณา
กัมมัสสกตาของตนและของคนอื่นอย่างนี้ครั้นใคร่ครวญพิจารณาแล้วซึ่ง
กัมมัสสกตาทั้งสองแล้วตั้งอยู่ในการใคร่ครวญพิจารณาก็ดี, เมื่อเสพกัลยาณมิตร
ผู้ยินดีในเมตตาภาวนา เช่นกับพระอัสสคุตตเถระก็ดี, ย่อมละพยาบาทได้.
ย่อมละพยาบาทได้แม้ด้วยสัปปายกถาอันอาศัยซึ่งเมตตา ในอิริยาบถทั้งหลายมี
การยืนและการนั่งเป็นต้น. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรัสว่า ธรรม
๖ ประการย่อมเป็นไปเพื่อการละพยาบาทดังนี้. ภิกษุนั้น ย่อมทราบชัดว่า
พยาบาทอันละด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้ไม่เกิดต่อไป ด้วยอนาคามิมรรค
ดังนี้.
ความเกิดขึ้นแห่งถีนมิทธะในธรรมทั้งหลายมีอรติเป็นต้น ย่อมมีด้วย
อโยนิโสมนสิการ. ความไม่พอใจ ชื่อว่า อรติ. ความเกียจคร้านทางกาย
(หรือความเฉื่อยชาทางกาย) ชื่อว่า ตันที. ความบิดกาย (หรือความบิด
ขี้เกียจ) ชื่อว่า วิชัมภิตา. ความซบเซาเพราะภัต ความกระวนกระวายเพราะภัต
(ความเมาภัต) ชื่อว่า ภัตตสัมมทะ. อาการหดหู่แห่งจิต ชื่อว่า เจตโส ลีนัตตัง.
เมื่อให้อโยนิโสมนสิการเป็นไปให้มากในธรรมมีอรติเป็นต้นเหล่านี้ ถีนมิทธะย่อม
เกิดขึ้น. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรัสว่า “ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
อรติ (ความไม่พอใจอาทิผิด สระ) ตันที (ความเกียจคร้านทางกาย) วิชัมภิตา
(ความน้อมกายหรือบิดกาย) ภัตตสัมมทะ (ความเมาภัต) และความ
ที่จิตหดหู่มีอยู่ การทำให้มากซึ่งอโยนิโสมนสิการในธรรมเหล่านั้น
นี้เป็นอาหารเพื่อให้ถีนมิทธะที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น หรือเพื่อความ
ไพบูลย์ยิ่งขึ้นของถีนมิทธะที่เกิดขึ้นแล้ว” ดังนี้.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 69/120/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คำนึงถึงสิกขา ๓ ประการนี้ศึกษาอยู่ ฯลฯ ทำให้แจ้งซึ่งธรรมที่ควรทำให้แจ้ง
ศึกษาอยู่ เมื่อรู้ความที่จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสามารถความเป็น
ผู้ระงับกายสังขารหายใจเข้าหายใจออก เวทนาย่อมปรากฏเกิดขึ้น ฯลฯ เมื่อรู้
ความที่จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสามารถความเป็นผู้ระงับกายสังขาร
หายใจเข้าหายใจออก ย่อมยังอินทรีย์ทั้งหลายให้ประชุมอาทิผิด อักขระลง ฯลฯ เพราะเหตุนั้น
ท่านจึงกล่าวว่า และแทงตลอดธรรมมีความสงบเป็นประโยชน์อนุปัสสนาญาณ
[ญาณในการพิจารณา] ๘ อุปัฏฐานานุสติ [อนุสติที่ปรากฏ] ๘ และ
สุตตันติกวัตถุ [เรื่องอันมีมาในพระสูตร] ในการพิจารณากายในกาย ๔.
จบภาณวาร
[๔๐๘] บุคคลย่อมศึกษาว่า จักรู้แจ้งปีติหายใจเข้า ย่อมศึกษาว่า
จักรู้แจ้งปีติหายใจออกอย่างไร ?
ปีติเป็นไฉน ? เมื่อรู้ความที่จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่าน ด้วย
สามารถลมหายใจเข้ายาว ปีติและปราโมทย์ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ เมื่อรู้ความที่
จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสามารถลมหายใจออกยาว ปีติและ ปราโมทย์
ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ เมื่อรู้ความที่จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสามารถ
ลมหายใจเข้าสั้น ด้วยสามารถลมหายใจออกสั้น ด้วยสามารถความเป็นผู้รู้แจ้ง
กายทั้งปวงหายใจเข้า ด้วยสามารถความเป็นผู้รู้แจ้งกายทั้งปวงหายใจออก ด้วย
สามารถความเป็นผู้ระงับกายสังขารหายใจเข้า ด้วยสามารถความเป็นผู้ระงับ
กายสังขารหายใจออก ปีติและปราโมทย์ย่อมเกิดขึ้น ปีติและปราโมทย์ คือ
ความเบิกบาน ความบันเทิง ความหรรษา ความรื่นเริงแห่งจิต ความปลื้มจิต
ความดีใจ ปีตินี้ย่อมปรากฏ เมื่อรู้ความที่จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่าน ด้วย
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 37/800/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ฉนฺโท ในสูตรนี้เป็นชื่อของราคะอย่างอ่อน. บทว่า ปริคฺคโห ได้แก่
ทำการยึดถือด้วยอำนาจตัณหาและทิฏฐิ. บทว่า มจฺฉริยํ ได้แก่
ทนต่อความเป็นของทั่วไปแก่ผู้อื่นไม่ได้. ด้วยเหตุนั้นนั่นเอง ท่าน
โบราณาจารย์จึงกล่าวความแห่งถ้อยคำอย่างนี้ของ มัจฉริยะนั้นว่า
ความอัศจรรย์นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า มัจฉริยะ เพราะเป็น
ไปแล้วในความว่า ขอความอัศจรรย์จงมีแก่เราเท่านั้น ขอจงอย่า
มีแก่คนอื่นเลยดังนี้. บทว่า อารกฺขา ได้แก่ การรักษาไว้ด้วยดี
โดยปิดประตูและเก็บรักษาไว้ในหีบเป็นต้น. ชื่ออธิกรณะเพราะ
ทำให้ยิ่ง บทนั้นเป็นชื่อของเหตุ. บทว่า อารกฺขาธิกรณํ เป็นนปุงสก-
ลิงค์ภาวสาธนะ อธิบายว่า เหตุแห่งการอารักขา. ในบทว่า ทณฺฑาทานํ
เป็นต้น พึงทราบวินิจฉัยดังนี้ การถือท่อนไม้เพื่อกั้นผู้อื่น ชื่อว่า
ทณฺฑาทานํ การถือศัสตราอาทิผิด อักขระมีคมข้างเดียวเป็นต้น ชื่อว่า สตฺถาทานํ.
การทะเลาะอาทิผิด สระกันด้วยกายก็ดี การทะเลาะกันด้วยวาจาก็ดี ชื่อว่า
กลโห. ตอนแรกเป็นวิคคหะ ตอนหลังเป็นวิวาท. บทว่า ตุวํตุวํ
ได้แก่ พูดขึ้นมึงขึ้นกู โดยไม่เคารพกัน.
จบ อรรถกถาตัณหาสูตรที่ ๓
พระปิฎกธรรม