Khon
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/327/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ลม หรือไฟ ย่อมปรากฏเพราะความที่หญ้าและต้นไม้เป็นต้นหักโค่นอาทิผิด อาณัติกะทลายแล้ว
หรือถูกไฟไหม้ และทางที่เป็นไปแล้วนั้นมิใช่น้ำเป็นต้นเหล่านั้นเลย ข้อนี้
ฉันใด ทางเดินของเรา ก็อาทิผิด อาณัติกะฉันนั้นเหมือนกันย่อมปรากฏในที่มีฟันเป็นต้น ด้วย
อำนาจลักษณะมีภาวะที่หักเป็นต้น ใคร ๆ แม้ลืมตาก็รู้ได้ แต่ลักษณะมีภาวะ
ที่ฟันหักเป็นต้นเท่านั้น มิใช่ชรา เพราะชรามิใช่สิ่งที่พึงรู้แจ้งด้วยตา.
อนึ่ง ชรานั้น พระองค์ทรงแสดงโดยปกติ กล่าวคือความสิ้นอายุ
และความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์มีจักษุเป็นต้น ซึ่งปรากฏเฉพาะในเมื่อล่วงกาล
ผ่านไปเท่านั้น ด้วยบทเหล่านี้ว่า อายุโน สํหานิ อินฺทฺริยานํ ปริปาโก
(ความเสื่อมสิ้นแห่งอายุ และความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์) เพราะเหตุนั้น
สองศัพท์หลังเหล่านั้น พึงทราบว่า เป็นศัพท์อธิบายความตามปกติของชรานั้น
บรรดาบททั้ง ๒ (คือความเสื่อมสิ้นแห่งอายุและความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์) นั้น
เพราะอายุของผู้ถึงชราแล้วย่อมเสื่อม ฉะนั้น ชรา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัส
โดยผลูปจารนัยว่า ความเสื่อมสิ้นแห่งอายุ. อนึ่ง เพราะอินทรีย์มีจักษุ
เป็นต้น ในเวลาที่ยังเป็นหนุ่มเป็นของผ่องใสดี สามารถรับวิสัยของตน
แม้ละเอียดได้โดยง่ายที่เดียว เมื่อเขาถึงชราแล้ว เป็นอินทรีย์หง่อมแล้ว
สับสนไม่คล่องแคล่ว ไม่สามารถรับวิสัยของตนแม้หยาบได้ ฉะนั้น พระองค์
จึงตรัสว่า อินฺทฺริยานํ ปริปาโก (ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์) โดยผลู-
ปจารนัยที่เดียว.
ว่าด้วยชรา ๒ อย่าง
อนึ่ง ชราแม้ทั้งหมด ที่ทรงยกขึ้นแสดงไว้อย่างนี้นั้นมี ๒ อย่าง คือ
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论