星期五, 十月 16, 2015

Withi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 85/202/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ตีณิ ฯเปฯ อวิคเต ตีณิ ท่านก็วางเหตุปัจจัยแม้อยู่ข้างหน้าของอารัมมณ-
ปัจจัยไว้ข้างหลัง แล้วกล่าวว่า อารมฺมณปจฺจยา เหตุยา ตีณิ เพราะ
อารัมมณปัจจัย ในเหตุปัจจัยมี ๓ วาระ เพื่อแสดงปัจจัยที่มีวิธีนับมาก
มีเหตุปัจจัยเป็นต้น และวิธีนับที่หาได้ในการเทียบเคียงปัจจัยเหล่านั้น.
ปัจจัยที่มีวิธีการนับน้อยกว่าและเท่ากัน. คำนี้ย่อมแจ่มแจ้งด้วยอธิบายนั้น.
อารัมมณปัจจัยย่อมถึงความต่างกัน โดยเป็นทุกะและติกะ เพราะวิธีการนับ
ที่มากกว่าหรือเท่ากับปัจจัยใด ๆ ในปัจจัยนั้นทั้งหมด พึงทราบว่ามีปัญหา
และวิสัชนา ๓ ข้อเท่านั้น. ส่วนในการเทียบเคียงกับวิปากปัจจัย ย่อมได้
ปุจฉาและวิสัชนาข้อเดียวเท่านั้น ข้อนั้นท่านอาทิผิด อักขระไม่ได้แสดงไว้ในอธิการนี้ว่า
จักมีแจ้งในการนับเกี่ยวกับวิปากปัจจัยเป็นต้น และการนับที่ท่านแสดงไว้
ในปัจจัยที่มีมูล ๒ นี้แหละ เป็นวิธีนับในปัจจัยที่มีมูล ๓ เป็นต้นด้วย
เพราะฉะนั้น ปัจจัยที่มีมูล ๓ เป็นต้น ท่านจึงไม่อธิบายไว้อย่างพิสดาร
ด้วยอำนาจอารัมมณปัจจัย.
บัดนี้ ท่านกล่าวคำมีอาทิว่า อธิปติปจฺจยา เหตุยา นว เพราะ
อธิปติปัจจัย ในเหตุปัจจัยมี ๙ วาระ เพื่อจะแสดงวิธีนับ ในปัจจัยที่มีมูล ๒
เป็นต้น ด้วยอำนาจอธิปติปัจจัยเป็นต้น พึงทราบนิทเทสแห่งปัจจัยตาม
นัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้วในเหตุปัจจัยนั้นนั่นแล ก็เพราะอธิปติปัจจัย
(เป็นมูล) เหตุปัจจัยมีปุจฉาและวิสัชนา ๙ ข้อฉันใด ในปัจจัยที่มีวิธีอาทิผิด นับ
เท่ากับเหตุปัจจัยที่เหลือก็มี ๙ ข้อฉันนั้น ดังที่ได้อธิบายมาแล้วนี้ ในการ
เทียบเคียงปัจจัย ที่มีวิธีนับเท่ากับปัจจัยที่มีอยู่ในอันดับแรก การนับย่อม
มีด้วยอำนาจแห่งปัจจัย ที่อยู่ในอันดับแรก ผู้ศึกษาพึงทราบว่า ก็ในการ
เทียบเคียงปัจจัยมีการนับน้อยกว่ากับปัจจัยที่เป็นตัวตั้งนั้น จำนวนย่อมมี
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: