Sadaeng
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/466/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เมื่อบุรุษอาบน้ำดีแล้ว เอาผ้าสะอาดคลุมตลอดศีรษะ ไออุ่นแต่ศีรษะย่อม
แผ่ไปทั่วผ้าทั้งผืนทีเดียว ไม่มีส่วนไร ๆ ของผ้าที่ไออุ่นจะไม่ถูกต้อง
ฉันใด กรชกายของภิกษุก็ฉันนั้น ไม่มีส่วนไร ๆ ที่ความสุขในจตุตถฌาน
จะไม่ถูกต้อง ในข้อนี้พึงเห็นเนื้อความอย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้.
ก็การพรรณนาตามลำดับบทและนัยแห่งภาวนาของฌาน ๔ เหล่านี้
กล่าวไว้แล้วในวิสุทธิมรรค ฉะนั้น จะไม่กล่าวให้พิสดารในที่นี้.
ก็ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ ภิกษุนี้ บัณฑิตพึงทราบว่า เป็นผู้ได้รูปฌาน
เท่านั้น ยังหาได้อรูปฌานไม่. ด้วยว่า เว้นความเป็นผู้ชำนาญในสมาบัติ
ทั้ง ๘ โดยอาการ ๑๔ เสียแล้ว การบรรลุอภิญญาชั้นสูงจะมีไม่ได้ แต่ใน
พระบาลีมาเฉพาะรูปฌานเท่านั้น จึงควรนำอรูปฌานมากล่าวด้วย.
ภิกษุนั้น ในคำว่า โส เอวํ สมาหิเต จิตฺเต ฯเปฯ อาเนญฺชปฺ-
ปตฺเต นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงอาทิผิด อักขระว่า ได้แก่ภิกษุผู้มีความชำนาญ
ในสมาบัติ ๘ โดยอาการ ๑๔ อันเธอได้สั่งสมแล้ว. คำที่เหลือในพระบาลี
นี้ พึงทราบตามนัยที่กล่าวแล้วในวิสุทธิมรรคนั่นแล.
ในพระบาลีว่า าณทสฺสนาย จิตฺตํ อภินีหรติ นี้ คำว่า ญาณ-
ทัสสนะ ท่านกล่าวหมายถึงมรรคญาณก็ได้อาทิผิด อักขระ ผลญาณก็ได้ สัพพัญญุตญาณ
ก็ได้ ปัจจเวกขณญาณก็ได้ วิปัสสนาญาณก็ได้.
ก็มรรคญาณ ท่านเรียกว่า ญาณทัสสนะอาทิผิด สระ ในพระบาลีนี้ว่า ดูก่อน
อาวุโส ย่อมประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาคเจ้าเพื่อความบริสุทธิ์
แห่งญาณทัสสนะอาทิผิด สระหรือหนอแล.
ผลญาณ ท่านเรียกว่า ญาณทัสสนะ ในพระบาลีนี้ว่า อุตตริ-.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论