星期五, 一月 29, 2016

Sangyut

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 69/290/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สมาคม คือ เสพด้วยจิต. บทว่า ภชโต คบหา คือ เข้าไปนั่งใกล้. บทว่า
ปยิรุปาสโต นั่งใกล้ คือ เข้าไปนั่งด้วยความเคารพ. บทว่า ปาสาทนีเย
สุตตนฺเต พระสูตรอันนำมาซึ่งความเลื่อมใส คือ พระสูตรปฏิสังยุตด้วยพระ
รัตนตรัยอันให้เกิดความเลื่อมใส. บทว่า กุสีเต ผู้เกียจคร้าน ชื่อว่า กุสีทา
เพราะจมลงด้วยอาการเกียจคร้าน. กุสีทา นั่นแล คือ ผู้เกียจคร้าน. บุคคล
ผู้เกียจคร้านเหล่านั้น. บทว่า สมฺมปฺปธาเน ความเพียรชอบ คือ พระสูตร
ปฏิสังยุตอาทิผิด อักขระด้วยความเพียรชอบอันให้สำเร็จกิจ ๔ อย่าง. บทว่า มุฏฺฐสฺสติ
ผู้มีสติหลงลืม คือ ผู้มีสติหายไป. บทว่า สติปฏฺฐาเน สติปัฏฐาน คือ
พระสูตรอันทำให้ยิ่งด้วยสติปัฏฐาน. บทว่า ฌานวิโมกฺเข ฌานและวิโมกข์
คือ พระสูตรอันทำให้ยิ่งด้วย จตุตถฌาน วิโมกข์ ๘ และวิโมกข์ ๓ อย่าง. บท
ว่า ทุปฺปญฺเญ บุคคลปัญญาทราม คือไม่มีปัญญา หรือชื่อว่า ทุปฺปญฺญา
เพราะเป็นผู้มีปัญญาทรามเพราะไม่มีปัญญา ซึ่งบุคคลผู้มีปัญญาทรามเหล่านั้น.
บทว่า คมฺภีราณจริยํ ญาณจริยาอันลึกซึ้ง คือ พระสูตรปฏิสังยุตด้วย
อริยสัจ ๔ และปฏิจจสมุปบาทเป็นต้น หรือ เช่นกับญาณกถา. บทว่า สุตฺต-
นฺตกฺขนฺเธ จำนวนพระสูตร คือ ส่วนแห่งพระสูตร.
บทว่า อสฺสทฺธิยํ ความเป็นผู้ไม่มีศรัทธา ในบทมีอาทิว่า อสฺส-
ทฺธิยํ คือ ความเป็นผู้ไม่มีศรัทธา บุคคลเห็นโทษในความไม่มีศรัทธา ละ
ความไม่มีศรัทธา ย่อมเจริญสัทธินทรีย์ บุคคลเห็นอานิสงส์ในสัทธินทรีย์
เจริญสัทธินทรีย์ ย่อมละความเป็นผู้ไม่มีศรัทธา. ในบทที่เหลือก็มีนัยนี้.
บทว่า โกสชฺชํ คือความเป็นผู้เกียจคร้าน. บทว่า ปมาทํ คือ
การอยู่ปราศจากสติ. บทว่า อุทฺธจฺจํ คือความเป็นผู้ฟุ้งซ่าน ได้แก่ ซัด
จิตไป.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 一月 28, 2016

Bukkhon

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 79/285/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ฉะนั้นพระธรรมกถึกทั้งหลาย พึงแสดงอาทิผิด อักขระธรรมแก่ชนทั้งหลายเหล่านั้นด้วยเหตุที่
กล่าวมานี้. แต่ว่าความแสดงธรรมแก่บุคคลที่ ๓ บ่อย ๆ ทีเดียว.
[๘๗] ๑. กายสักขีบุคคล บุคคลชื่อว่า กายสักขี เป็นไฉน ?
บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกต้องวิโมกข์ ๘ ด้วยกาย สำเร็จอิริยาบถอยู่
และกิเลสบางอย่างของผู้นั้น เป็นของสิ้นไปรอบแล้ว เพราะเห็นด้วยปัญญา
บุคคลนี้เรียกว่ากายสักขี.
๒. ทิฏฐิปัตตบุคคล บุคคล ชื่อว่า ทิฏฐิปัตตะอาทิผิด เป็นไฉน ?
บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมรู้ตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ย่อมรู้
ตามความเป็นจริงว่า นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ ย่อมรู้ตามความเป็นจริงว่า นี้
ความดับทุกข์ ย่อมรู้ตามความเป็นจริงว่า นี้เป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์
และธรรมทั้งหลายอันพระตถาคตประกาศแล้ว เป็นอันเธอได้เห็นดีแล้วด้วย
ปัญญา เป็นอันเธอดำเนินไปด้วยดีแล้วด้วยปัญญา และอาสวะบางอย่าง
ของเธอเป็นอันสิ้นไปแล้วโดยรอบ เพราะเห็นด้วยปัญญา บุคคลนี้เรียกว่า
ทิฏฐิปัตตะ.
๓. สัทธาวิมุตตบุคคล บุคคลชื่อว่าสัทธาวิมุต เป็นไฉน ?
บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมรู้ตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ฯลฯ
ธรรมทั้งหลายอันพระตถาคตประกาศแล้ว ย่อมเป็นอันเธอเห็นแล้วด้วยดี
ด้วยปัญญา และอาสวะบางอย่างของเธอเป็นอันสิ้นไปแล้วโดยรอบ เพราะเห็น
ด้วยปัญญา อาสวะของทิฏฐิปัตตะบุคคลสิ้นไปรอบ ฉันใด อาสวะของสัทธา-
วิมุตตบุคคลหาเป็นเช่นนั้นไม่ บุคคลอาทิผิด อักขระนี้เรียกว่า สัทธาวิมุต.
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 一月 27, 2016

Asai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 23/302/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ได้ตรัสอัญญาณูเบกขา ไว้ในหนก่อน. จะตรัสฉฬังคุเบกขาในข้างหน้า ทรงถือ
เอาอุเบกขา ๒ อย่าง คือ สมถอุเบกขา วิปัสสนูเบกขา แม้ในที่นี้. ในอุเบกขา
๒ อย่างนั้นเพราะอุเบกขาในรูปเป็นอย่างหนึ่ง อุเบกขาในเสียงเป็นต้นอย่างหนึ่ง.
ก็อุเบกขาในรูปย่อมไม่มีในเสียงเป็นต้น. อุเบกขาในรูปเท่านั้น ทำรูปเท่านั้นให้
เป็นอารมณ์. เสียงเป็นต้นย่อมไม่ทำรูปและความเป็นอุเบกขาให้ เป็นอารมณ์.
สมถอุเบกขาอื่น ๆ ก็คือ อุเบกขาที่ทำปฐวีกสิณให้เป็นอารมณ์เกิดขึ้น. อุเบกขา
อื่น ๆ คือ อุเบกขาที่เกิดขึ้นเพราะทำอาโปกสิณเป็นต้นให้เป็นอารมณ์. เพราะ
ฉะนั้น เมื่อจะทรงจำแนกความเป็นต่าง ๆ และอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ จึงตรัสว่า
อตฺถิ ภิกฺขเว อุเปกฺขา รูเป เป็นต้น ก็เพราะอากาสานัญจายตนะ หรือ
วิญญาณัญจายตนะ เป็นต้น ไม่มีสอง หรือสาม. เพราะฉะนั้น เมื่อทรง
จำแนกอาศัยอารมณ์หนึ่งจึงตรัสว่า อตฺถิ ภิกฺขเว อุเปกขา อากาสานญฺ-
จายตนนิสฺสิตา ดังนี้เป็นต้น. บรรดาอุเบกขาเหล่านั้น อากาสานัญจายตนู-
เบกขา อาศัยอากาสานัญจายตนะ ด้วยอำนาจที่เป็นสัมปยุต วิปัสสนูเบกขา
ของภิกษุผู้เห็นแจ้งอากาสานัญจายตนขันธ์อาศัยอาทิผิด อักขระอากาสานัญจายตนะ ด้วยอำนาจ
แห่งอารมณ์. ในอุเบกขาแม้ที่เหลือ ก็นัยนี้เหมือนกัน . ทรงให้ละรูปาวจร
กุศลสมาบัติอุเบกขา ด้วยอรูปอาทิผิด สระาวจรสมาบัติอุเบกขา ทรงให้อรูปาวจรวิปัสสนู-
เบกขา ด้วยอรูปาวจรวิปัสสนูเบกขา ในบทนี้ว่า ตํ ปชหถ ดังนี้ ตัณหาอาทิผิด อักขระ
ชื่อว่า ตมฺมยตา ในบทนี้ว่า อตมฺมยตํ. วิปัสสนาอันให้ถึงการออกจากการ
กลุ้มรุม ของตัณหานั้น เรียกว่า อตมฺมยตา. ย่อมละอรูปาวจรสมาบัติ
อุเบกขาและวิปัสสนูเบกขา ด้วยวุฏฐานคามินีวิปัสสนา ในบทนี้ว่า ตํ ปชหถ.
บทว่า ยทริโย ความว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็นอริยเจ้า ย่อมทรง
เสพสติปัฏฐานเหล่าใด. ทรงตั้งพระสติในฐานะ ๓ อย่างนั้น พึงทราบว่า
ทรงเสพสติปัฏฐาน.
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 一月 25, 2016

Chue

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 28/261/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ใคร่ ย่อมไม่เห็นรูปอันไม่น่าใคร่ ย่อมเห็นแต่รูปอันน่าพอใจ ย่อมไม่เห็น
รูปอันไม่น่าพอใจ ฯลฯ จะรู้แจ้งธรรมารมณ์อะไร ๆ ด้วยใจ ก็ย่อมรู้แจ้งแต่
ธรรมารมณ์อันน่าปรารถนา ย่อมไม่รู้แจ้งธรรมารมณ์อันไม่น่าปรารถนา
ย่อมรู้แจ้งแต่ธรรมารมณ์ที่น่าใคร่ ย่อมไม่รู้แจ้งธรรมารมณ์ที่ไม่น่าใคร่
ย่อมรู้แจ้งแต่ธรรมารมณ์อันน่าพอใจ ย่อมไม่รู้แจ้งธรรมารมณ์อันไม่น่า
พอใจ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เป็นลาภของเธอทั้งหลายแล้ว เธอทั้งหลาย
ได้ดีแล้ว เธอทั้งหลายได้ขณะอยู่ประพฤติพรหมจรรย์แล้ว.
จบ ขณสูตรที่ ๒

อรรถกถาขณสูตรที่ ๒
ในขณสูตรที่ ๒ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
บทว่า ฉ ผสฺสายตนิกา นาม ความว่า นรก ชื่ออาทิผิด อักขระว่า ผัสสายตนะ ๖
ไม่มี นรกทั้งหลายที่ชื่อฉผัสสายตนิกาแต่ละชื่อไม่มี. จริงอยู่ บัญญัติว่า
ผัสสายตนะทางทวาร ๖ ย่อมมีในมหานรก แม้ทั้งหมด ๓๑ ขุมนั่นเอง
แต่คำนี้ ท่านกล่าว หมายเอาอเวจีมหานรก. แม้ในบทว่า สคฺคา (สวรรค์)
นี้ ท่านประสงค์เอาเฉพาะ บุรีดาวดึงส์เท่านั้น. แต่ชื่อว่าบัญญัติแห่ง
อายตนะหก แม้แต่ละอย่าง ในกามาวจรเทวโลกไม่มีก็หาไม่. ถามว่า
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดง ฉผัสสายตนิกานี้ไว้ทำไม. ตอบว่า ใคร ๆ
ไม่อาจจะอยู่ประพฤติมรรคพรหมจรรย์ในนรกได้ เพราะได้รับแต่ทุกข์โดย
ส่วนเดียว และไม่อาจอยู่ประพฤติมรรคพรหมจรรย์ในเทวโลกได้ เพราะ
เกิดความประมาทด้วยสามารถความยินดีในการเล่นโดยส่วนเดียว เพราะ
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 一月 20, 2016

Cakkhu

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 84/268/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บุคคลที่มีจักขุอาทิผิด อักขระเกิดได้ แต่เว้นอุเปกขากำลังเกิดอยู่ จักขุนทรีย์
กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น แต่อุเปกขินทรีย์ไม่ใช่กำลังเกิด
แก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น บุคคลที่มีจักขุเกิดได้ และมีอุเปกขากำลัง
เกิดอยู่ จักขุนทรีย์กำลังเกิด และอุเปกขินทรีย์ก็กำลังเกิดแก่บุคคล
เหล่านั้นในภูมินั้น.
ก็หรือว่าอุเปกขินทรีย์กำลังเกิดแก่บุคคลใดในภูมิใด, จักขุนทรีย์
ก็กำลังเกิดแก่บุคคลนั้นในภูมินั้น ใช่ไหม ?
บุคคลที่มีอุเปกขา แต่จักขุเกิดไม่ได้กำลังเกิดอยู่ อุเปกขินทรีย์
กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น แต่จักขุนทรีย์ไม่ใช่กำลังเกิดแก่
บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น บุคคลที่มีอุเปกขา และมีจักขุเกิดได้กำลัง
เกิดอยู่ อุเปกขินทรีย์กำลังเกิด และจักขุนทรีย์ก็กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่า
นั้นในภูมินั้น.
จบ จักขุนทริยมูละ อุเปกขินทริยมูลี

จักขุนทริยมูละ สัทธินทริยมูลี:-
[๕๖๕] จักขุนทรีย์กำลังเกิดแก่บุคคลใดในภูมิใด, สัทธินทรีย์
ก็กำลังเกิดแก่บุคคลนั้นในภูมินั้น ใช่ไหม ?
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 一月 18, 2016

Satthinsi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 84/277/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บุคคลที่มีฆานะเกิดได้ แต่เป็นอเหตุกบุคคลกำลังเกิดอยู่ ฆา-
นินทรีย์กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น แต่สัทธินทรีย์ไม่ใช่กำลัง
เกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น, บุคคลที่มีฆานะเกิดได้และเป็นสเหตุก
บุคคลกำลังเกิดอยู่ ฆานินทรีย์กำลังเกิด และสัทธินทรีย์ก็กำลังเกิดแก่
บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น.
ก็หรือว่าสัทธินทรีย์กำลังเกิดแก่บุคคลใดในภูมิใด, ฆานินทรีย์
ก็กำลังเกิดแก่บุคคลนั้นในภูมินั้น ใช่ไหม ?
สเหตุกบุคคล แต่ฆานะเกิดไม่ได้กำลังเกิดอยู่ สัทธินทรีย์
กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น แต่ฆานินทรีย์ไม่ใช่กำลังเกิดแก่
บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น, สเหตุกบุคคล และมีฆานะเกิดได้กำลังเกิด
อยู่ สัทธินทรีย์กำลังเกิด และฆานินทรีย์ก็กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่านั้น
ในภูมินั้น.
จบ ฆานินทริยมูละ สัทธินทริยมูลี

ฆานินทริยมูละ ปัญญินทริยมูลี:-
[๕๗๔] ฆานินทรีย์กำลังเกิดแก่บุคคลใดในภูมิใด, ปัญญิน-
ทรีย์ก็กำลังเกิดแก่บุคคลนั้นในภูมินั้น ใช่ไหม ?
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 一月 17, 2016

Watthu

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 89/109/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุอาทิผิด โดยความเป็นของไม่เที่ยง
ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย.
๓. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น
เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิต และ
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 一月 16, 2016

Mi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 80/280/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
มีอยู่ เทวดาที่เลื่อมใส ในพระพุทธเจ้า เลื่อมใสในพระธรรม เลื่อมใส
ในพระสงฆ์ เข้าไปนั่งใกล้พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า ทูลถามปัญหากะ
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า ชื่นชมในปัญหาที่พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า
วิสัชนาแล้ว ก็มีอยู่ เทวดาที่ไม่ประกอบด้วยกัมมาวรณ์ ไม่ประกอบด้วย
กิเลสาวรณ์ ไม่ประกอบด้วยวิปากาวรณ์ เป็นผู้มีศรัทธา เป็นผู้มีฉันทะ
เป็นผู้มีปัญญา เป็นผู้ควรเพื่อจะก้าวลงสู่ความแน่นอน อันเป็นทางชอบ
ในกุศลธรรมทั้งหลาย ก็มีอยู่ เทวดาที่ไม่เป็นผู้ทำมาตุฆาต ไม่เป็นผู้ทำ
ปิตุฆาต ไม่เป็นผู้ทำอรหันตฆาต ไม่เป็นผู้ทำโลหิตุปบาท ไม่เป็นผู้ทำ
สังฆเภท ก็มีอยู่ เทวดาที่ไม่เป็นผู้ทำปาณาติบาต ไม่เป็นผู้ทำอทินนา-
ทาน ไม่ประพฤติผิดในกาม ไม่กล่าวมุสาวาท ไม่กล่าวปิสุณาวาท
ไม่กล่าวผรุสวาท ไม่กล่าวสัมผัปปลาปวาท มิใช่ผู้มากด้วยอภิชฌา มิใช่
ผู้มีจิตพยาบาท เป็นสัมมาทิฏฐิ ก็มีอาทิผิด สระอยู่มิใช่หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. หากว่า เทวดาที่ไม่เป็นผู้เงอะงะ ไม่เป็นใบ้
เป็นผู้รู้เดียงสา ไม่ใช้ภาษาใบ้ มีกำลังพอจะรู้เนื้อความแห่งคำที่กล่าวดี
กล่าวชั่ว มีอยู่ ฯ ล ฯ เทวดาที่เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า ฯ ล ฯ เป็น
สัมมาทิฏฐิ ก็มีอยู่ ก็ต้องไม่กล่าวว่า การประพฤติพรหมจรรย์ไม่มีใน
หมู่เทวดา.
[๒๕๖] ป. การประพฤติพรหมจรรย์มีอยู่ในหมู่เทวดา หรือ
ส. ถูกแล้ว.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 一月 14, 2016

Hai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/45/11  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บทว่า ปวิเวกาธิมุตฺโต มีความว่า พยากรณ์อรหัตอย่างนี้ว่า
ข้าพเจ้าน้อมไปในวิเวก.
บทว่า สีลพฺพตปรามาสํ ได้แก่ สักว่าความถือที่ถืออิงศีลและพรต.
บทว่า สารโต ปจฺจาคจฺฉนฺโต ได้แก่ ทราบอยู่โดยความเป็น
แก่นสาร.
บทว่า อพฺยาปชฺฌาธิมุตฺโต มีความว่า พยากรณ์อรหัตซึ่งหาความ
เบียดเบียนมิได้. เนื้อความในวาระทั้งปวง พึงทราบโดยนัยนี้.
บทว่า ภุสา ได้แก่ มีกำลัง.
หลายบทว่า เนวสฺสา จิตฺตํ ปริยาทิยนฺติ มีความว่า อารมณ์
เหล่านั้น ไม่สามารถจะยึดอาทิผิด สระจิตของพระขีณาสพนั้นตั้งอยู่ได้.
บทว่า อมิสฺสีกตํ มีความว่า จิตของท่านอันอารมณ์ทำให้อาทิผิด สระเจือด้วย
กิเลสไม่ได้. อธิบายว่า อารมณ์ทั้งหลายอาทิผิด อักขระย่อมทำจิตให้เป็นธรรมชาติเจือกับ
กิเลสทั้งหลาย เพราะไม่มีกิเลสเหล่านั้น จิตของท่านจึงชื่อว่าอันอารมณ์ทำให้
เจือด้วยกิเลสไม่ได้.
บทว่า ฐิตํ ได้แก่ ตั้งมั่นอาทิผิด อาณัติกะ.
บทว่า อเนญฺชปฺปตฺตํ ได้แก่ ถึงความไม่หวั่นไหว.
บทว่า วยญฺจสฺสานุปสฺสติ ได้แก่ เห็นทั้งความอาทิผิด อักขระเกิด ทั้งความดับ
แห่งจิตนั้น.
สองบทว่า เนกฺขมฺมํ อธิมุตฺตสฺส ได้แก่ ตรัสรู้พระอรหัตตั้งอาทิผิด อักขระอยู่.
พระอรหัตนั่นเอง พระโสณโกลิวิสเถระ กล่าวแล้วแม้ด้วยบทที่เหลือทั้งหลาย.
บทว่า อุปาทานกฺขยสฺส เป็นฉัฏฐีวิภัตติใช้ในอรรถแห่งทุติยาอาทิผิด อักขระวิภัตติ.
สองบทว่า อสมฺโมหญฺจ เจตโส ได้แก่ และความไม่หลงงมงาย
แห่งจิต. ภิกษุนั้นน้อมไปแล้วด้วย.
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 一月 13, 2016

Nibat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/329/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เป็นทาริกาก็ตาม จากชีวิต ย่อมเป็นผู้ชื่อว่าพระอรหันต์แท้; ย่อมถูกอนันตริย-
กรรมด้วย และบรรพชาของผู้นั้น อันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงห้าม. ส่วนบุคคล
ฆ่าพระอรหันต์ซึ่งมิใช่ชาติมนุษย์ หรือพระอริยบุคคลที่เหลือซึ่งเป็นชาติมนุษย์
ยังไม่เป็นผู้มีอนันตริยกรรม แม้บรรพชาของเขา ก็ไม่ทรงห้าม. แต่ว่า กรรม
เป็นของรุนแรง. ดิรัจฉานแม้ฆ่าพระอรหันต์ซึ่งเป็นชาติมนุษย์ ก็ไม่เป็นผู้มี
อนันตริยกรรม แต่ว่า เป็นกรรมอันหนัก.
หลายบทว่า เต วธาย โอนียนฺติ มีความว่า โจรเหล่านั้นอันพวก
ราชบุรุษย่อมนำไป เพื่อประโยชน์แก่การฆ่า. อธิบายว่านำไปเพื่อประหารชีวิต.
ก็คำใด ที่พระธรรมสังคาหกาจารย์ทั้งหลายกล่าวไว้ในบาลีว่า สจา
จ มยํ ความแห่งคำนั้นเท่านี้เองว่า สเจ มยํ. จริงอยู่ ในพระบาลีนี้ ท่าน
กล่าวนิบาตอาทิผิด สระนี้ว่า สจา จ ในเมื่อนิบาตว่า สเจ อันท่านพึงกล่าว. อีกอย่าง
หนึ่งปาฐะว่า สเจ จ ก็มี. ใน ๒ ศัพท์นั้น ศัพท์ว่า สเจ เป็นสัมภาว-
นัตถนิบาต. ศัพท์ว่า จ เป็นนิบาตใช้ในอรรถมาตรว่าเป็นเครื่องทำบทให้เต็ม
ปาฐะว่า สจชฺช มยํ บ้าง ความแห่งปาฐะนั้นว่า สเจ อชฺช มยํ.

อรรถกถามาตุฆาตกาทิวัตถุ จบ
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 一月 12, 2016

Pramuk

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/124/3  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
แล้ว จนทรงนำพระหัตถ์ออกจากบาตร ให้ห้ามภัตรแล้ว ได้นั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่ควร
ส่วนข้างหนึ่ง นางได้กราบทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า หม่อมฉันขอถวาย
สวนอัมพปาลีวันนี้ แก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขอาทิผิด อักขระ พระพุทธเจ้าข้า
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับเป็นสังฆารามแล้ว ครั้น แล้วพระองค์ทรงชี้แจงให้
นางอัมพปาลีเห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา เสด็จลุกจาก
พระพุทธอาสน์แล้ว เสด็จพระพุทธดำเนินไป ทางป่ามหาวัน ทราบว่า พระองค์
ประทับอยู่ ณ กูฏาคารศาลา ป่ามหาวันเขตพระนครเวสาลีนั้น.
เรื่องเจ้าลิจฉวีชาวพระนครเวสาลี จบ
ลิจฉวีภาณวาร จบ

เรื่องสีหะเสนาบดี
ทรงดำริเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า
[๗๘] ก็โดยสมัยนั่นแล เจ้าลิจฉวีบรรดาที่มีชื่อเสียง มีคนรู้จัก นั่ง
ประชุมพร้อมกัน ณ ท้องพระโรงต่างพากันตรัสสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรม
คุณ พระสังฆคุณ โดยอเนกปริยาย และเวลานั้น สีหะเสนาบดีสาวกของนิครนถ์
นั่งอยู่ในที่ประชุมนั้นด้วย จึงคิดว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นจักเป็น
พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยไม่ต้องสงสัยเลย คงเป็นความจริง เจ้าลิจฉวี
บรรดาที่มีชื่อเสียง มีคนรู้จักเหล่านี้จึงได้นั่งประชุมพร้อมกัน ณ ท้องพระโรง
ต่างพากันตรัสสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณโดยอเนก
ปริยาย ถ้ากระไรเราพึงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 一月 11, 2016

Sen

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 29/245/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
คา. ไม่สมควรเลย พระเจ้าข้า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ น่าอัศจรรย์
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ไม่เคยมีมา ข้าพระองค์มีเรือนพักอยู่หลังหนึ่ง ใน
เรือนนั้นมีเตียงนอน มีที่นั่ง มีหม้อน้ำ มีประทีปน้ำมัน ข้าพระองค์
จะแจกจ่ายแก่สมณะหรือพราหมณ์ผู้เข้าไปอยู่ในเรือนพักนั้นตามสติกำลัง.

ว่าด้วยวาทะอาทิผิด ของศาสดา ๔ ท่าน

[๖๖๑] ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เรื่องเคยมีมาแล้ว ศาสดา ๔ ท่าน
ซึ่งอาทิผิด อักขระมีความเห็น มีความพอใจ มีความชอบใจต่าง ๆ กัน พากันเข้าไปอยู่
ในเรือนพักนั้น ศาสดาท่านหนึ่งมีวาทะอย่างนี้ มีความเห็นอย่างนี้ว่า
ทานไม่มีผล การบูชาไม่มีผล การเซ่นสรวงไม่มีผล ผลวิบากที่ทำดีทำชั่ว
ไม่มี โลกนี้ไม่มี โลกหน้าไม่มี มารดาไม่มี บิดาไม่มี สัตว์ผู้ผุดขึ้นไม่มี
สมณพราหมณ์ผู้ดำเนินไปดี ปฏิบัติชอบ กระทำให้โลกนี้และโลกหน้าแจ้ง
ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้วสอนผู้อื่นให้รู้ตาม ไม่มีในโลก.
[๖๖๒] ศาสดาท่านหนึ่งมีวาทะอย่างนี้ มีความเห็นอย่างนี้ว่า
ทานมีผล การบูชามีผล การเซ่นอาทิผิด อักขระสรวงมีผล ผลวิบากที่ทำดีทำชั่วมีอยู่
โลกนี้มี โลกหน้ามี มารดามี บิดามี สัตว์ผู้ผุดเกิดมี สมณพราหมณ์
ผู้ดำเนินไปดี ปฏิบัติชอบ กระทำโลกนี้และโลกหน้าให้แจ้งด้วยปัญญาอัน
ยิ่งด้วยตนเอง แล้วสอนผู้อื่นให้รู้ตาม มีอยู่ในโลก.
[๖๖๓] ศาสดาท่านหนึ่งมีวาทะอย่างนี้ มีความเห็นอย่างนี้ว่า
เมื่อบุคคลทำเอง ใช้ให้ผู้อื่นทำ ตัดเอง ใช้ให้ผู้อื่นตัด เบียดเบียนเอง
ใช้ให้ผู้อื่นเบียดเบียน ทำเขาให้เศร้าโศกเอง ใช้ผู้อื่นทำเขาให้เศร้าโศก
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 一月 06, 2016

Ewang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 1/812/7  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สองบทว่า วิญฺญุสฺส น สาเวติ ความว่า ไม่ประกาศแก่ผู้ฉลาด
ซึ่งสามารถจะเข้าใจได้.
หลายบทว่า สพฺพโส วา ปน ความว่า สิกขา ย่อมเป็นอันบอก
ลาแล้ว โดยปริยายใด ในบรรดาคำว่า พุทฺธํ ปจฺจกฺอาทิผิด อักขระขามิ เป็นต้น แต่เธอ
หาได้ทำแม้ปริยายอย่างหนึ่งจากปริยายนั้น คือลั่นวาจาประกาศให้ได้ยินไม่.
พระผู้มีพระภาคเจ้า ย่อมทรงกำหนดลักษณะแห่งการไม่บอกลาไว้ ด้วยคำว่า
เอวํ โข เป็นต้น. จริงอยู่ในคำว่า เอวํอาทิผิด อักขระ โข เป็นต้นนี้ มีอธิบายดังนี้ว่า
สิกขาย่อมเป็นอันภิกษุไม่บอกลา ด้วยอาการอย่างนี้แล หามีได้ด้วยเหตุ
อย่างอื่นไม่.
[อรรถาธิบายความหมายแห่งเมถุนธรรม]
บัดนี้ เพื่อทรงแสดงใจความแห่งบทว่า เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสเวยฺย
เป็นต้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรัสคำว่า เมถุนธมฺโม นาม เป็นต้น.
ในคำว่า เมถุนธมฺโม นาม เป็นต้นนั้น มีวินิจฉัยดังนี้ :-
คำว่า เมถุนธมฺโม นาม นี้ เป็นบทอุเทศแห่งเมถุนแห่งธรรมที่ควร
อธิบาย.
ธรรมของพวกอสัตบุรุษทั้งหลาย คือคนต่ำช้า ชื่อว่า อสัทธรรม.
ธรรมเป็นที่เสพของพวกชาวบ้านชื่อว่า คามธรรม. ธรรมของพวกคนถ่อย
ชื่อวสลธรรม. อีกอย่างหนึ่ง ธรรมชื่อว่าถ่อยเองนั่นแล เพราะเป็นที่ไหลออก
แห่งกิเลส เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า วสลธรรม.
บท ทุฏฺฐุลฺลํ มีความว่า ชื่อว่าเป็นธรรมชั่ว เพราะเป็นธรรม
อันกิเลสทั้งหลายประทุษร้ายแล้ว และชื่อว่าเป็นธรรมหยาบ เพราะเป็นธรรม
ไม่ละเอียด เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่าธรรมชั่วหยาบ.
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 一月 05, 2016

Sot

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 1/822/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เหตุที่ ชื่อว่าการสอด (องคชาต) เข้าไปนั้น ไม่ใช่จะมีได้ด้วยความพยายาม
ของตนอย่างเดียวเท่านั้น ย่อมมีได้แม้ด้วยความพยายามของผู้อื่น และเมื่อ
ภิกษุยินดีในการสอด (องคชาต) เข้าไปด้วยความพยายามของผู้อื่นแม้นั้น
ก็เป็นอาบัติ, คือเมื่อภิกษุมีความพร้อมเพรียงด้วยปฏิเสวนจิตก็เป็นอาบัติ นอกนี้
ไม่เป็นอาบัติ จึงตรัสพระดำรัสว่า ภิกฺขุปจฺจตฺถิกา มนุสฺสิตฺถึ เป็นต้น.
ในคำว่า ปจฺจตฺถิกา เป็นต้นนั้น มีวินิจฉัยดังนี้ :- เหล่าชนผู้
ชื่อว่าเป็นข้าศึก เพราะอรรถว่าต้องการ คือ ปรารถนาเป็นปฏิปักษ์. ข้าศึก
ทั้งหลาย คือ พวกภิกษุ ชื่อว่า ภิกฺขุปจฺจตฺถิกา (ภิกษุผู้เป็นข้าศึก). คำว่า
ภิกขุปัจจัตถิกานั่น เป็นชื่อของพวกภิกษุผู้ก่อเวร ซึ่งเป็นวิสภาคกัน.
หลายบทว่า มนุสฺสิตฺถึ ภิกฺขุโน สนฺติเก อเนตฺวา ความว่า
พวกภิกษุผู้มีความริษยาปรารถนาจะทำให้ภิกษุนั้นฉิบหาย เอาอามิสหลอกล่อ
หรือพูดด้วยอำนาจมิตรสันถวะว่า ท่านจงทำกิจนี้ของพวกเราเถิด แล้วพาเอา
หญิงมนุษย์บางคนมายังโอกาส ซึ่งเป็นที่อยู่ของภิกษุนั้น ในเวลาราตรี.
หลายบทว่า วจฺจมคฺเคน องฺคชาตํ อภินีสีเทนฺติ ความว่า
จับภิกษุรูปนั้นที่อวัยวะมี มือ เท้า และศีรษะเป็นต้นอย่างมั่น คือให้ดิ้นรน
ไม่ได้ แล้วให้นั่งคร่อม คือให้ประกอบองคชาตของภิกษุรูปนั้น ด้วยวัจจมรรค
ของหญิง.
ในคำว่า โส เจ เป็นต้น มีวินิจฉัยดังนี้ :- ถ้าภิกษุรูปนี้นั้นยินดี
คือยอมรับการสอดอาทิผิด อักขระองคชาตของตนเข้าไปร่วมในแห่งวัจจมรรค (ของหญิง)
คือเธอให้เสวนจิตปรากฏขึ้นในขณะนั้น ยินดี คือยอมรับการเข้าไปแล้ว, ใน
เวลาที่เข้าไปแล้ว เธอก็ให้เสวนจิตปรากฏขึ้นทั้งยินดี คือยอมรับการหยุดอยู่,
ในเวลาที่องคชาตถึงที่ เธอก็ให้เสวนจิตปรากฏขึ้นในเวลาที่หลั่งน้ำสุกกะ ทั้ง
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 一月 03, 2016

An

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 30/140/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พลกรณียวรรคที่ ๑๑

๑. ปฐมพลกรณียสูตร

อาศัยศีล เจริญอริยมรรคน้อมไปในการสละ
[๒๖๔] สาวัตถีนิทาน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การงานที่จะพึงทำด้วย
กําลังอย่างใดอย่างหนึ่ง อันบุคคลทำอยู่ ทั้งหมดนั้น อันบุคคลอาศัยแผ่นดิน
ดำรงอยู่บนแผ่นดิน จึงทำได้ การงานที่จะพึงทำด้วยกำลังเหล่านี้ อันบุคคล
ย่อมกระทำได้ด้วยอาการอย่างนี้ แม้ฉันใด ภิกษุอาศัยศีล ตั้งอยู่ในศีลแล้ว
จึงเจริญอริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ กระทำให้มากซึ่งอริยมรรคอันประกอบ
ด้วยองค์ ฉันนั้นเหมือนกัน.
[๒๖๕] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุอาศัยศีล ตั้งอยู่ในศีลแล้ว จึง
เจริญอริยมรรคอันประกอบด้วยอาทิผิด องค์ ๘ กระทำให้มากซี่งอริยมรรคอันประกอบ
ด้วยองค์ ๘ อย่างไรเล่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญ
สัมมาทิฏฐิ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปในการสละ ฯลฯ
ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ ๘ ฉันนั้นเหมือนกัน.
[๒๖๕] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุอาศัยศีล ตั้งอยู่ในศีลแล้ว จึง
เจริญอริยมรรคอันประกอบอันอาทิผิด สระอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปใน
การสละ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุอาศัยศีล ตั้งอยู่ในศีลแล้ว จึงเจริญ
อริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ กระทำให้มากซี่งอริยมรรคอันประกอบด้วย
องค์ ๘ อย่างนี้แล.
จบ ปฐมพลกรณียสูตรที่ ๑
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 一月 02, 2016

Anencha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 44/319/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ไม่หวั่นไหวในอุทธัจจะ ๑ จิตไม่ยินดียิ่ง ชื่อว่า
อาเนญชะ เพราะไม่หวั่นไหวในราคะ ๑ จิตไม่ผลัก
ออกชื่อว่าอาเนญชะ เพราะไม่หวั่นไหวในพยาบาท ๑
จิตที่ไม่เกี่ยวเกาะ ชื่อว่าอาเนญชะ เพราะไม่หวั่น-
ไหวในทิฏฐิ ๑ จิตที่ไม่ผูกพัน ชื่อว่าอาเนญชะ เพราะ
ไม่หวั่นไหวในฉันทราคะ ๑ จิตที่หลุดพ้น ชื่อว่า
อาเนญชะ เพราะไม่หวั่นไหวในกามราคะ ๑ จิตที่
ไม่พัวพัน ชื่อว่าอาเนญชะ เพราะไม่หวั่นไหวใน
กิเลส ๑ จิตที่ไม่มีเขตแดนเป็นต้น ชื่อว่าอาเนญชะ
เพราะไม่หวั่นไหวในเขตแดนคือกิเลส ๑ จิตที่มี
อารมณ์เป็นหนึ่ง ชื่อว่าอเนญชะ เพราะไม่หวั่นไหว
ในกิเลสต่าง ๆ ๑ จิตที่ศรัทธากำกับแล้ว ชื่อว่าอา-
เนญชะ เพราะไม่หวั่นไหวในอสัทธิยะ (ความไม่มี
ศรัทธา) ๑ จิตที่วิริยะอาทิผิด สระกำกับแล้ว ชื่อว่าอาเนญชะ
เพราะไม่หวั่นไหวในโกสัชชะ ๑ จิตที่สติกำกับแล้ว
ชื่อว่าอาเนญชะ เพราะไม่หวั่นไหวในปมาทะ ๑ จิตที่
สมาธิกำกับแล้ว ชื่ออาเนญชะ เพราะไม่หวั่นไหว
ในอุทธัจจะ ๑ จิตที่ปัญญากำกับแล้วชื่อว่าอาเนญชะ
เพราะไม่หวั่นไหวในอวิชชา ๑ จิตที่ถึงความสว่าง
แล้ว ชื่อว่าอาเนญชะอาทิผิด อักขระ เพราะไม่หวั่นไหวในความมืด
(คืออวิชชา) ๑.
 
พระปิฎกธรรม