星期六, 一月 16, 2016

Mi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 80/280/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
มีอยู่ เทวดาที่เลื่อมใส ในพระพุทธเจ้า เลื่อมใสในพระธรรม เลื่อมใส
ในพระสงฆ์ เข้าไปนั่งใกล้พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า ทูลถามปัญหากะ
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า ชื่นชมในปัญหาที่พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า
วิสัชนาแล้ว ก็มีอยู่ เทวดาที่ไม่ประกอบด้วยกัมมาวรณ์ ไม่ประกอบด้วย
กิเลสาวรณ์ ไม่ประกอบด้วยวิปากาวรณ์ เป็นผู้มีศรัทธา เป็นผู้มีฉันทะ
เป็นผู้มีปัญญา เป็นผู้ควรเพื่อจะก้าวลงสู่ความแน่นอน อันเป็นทางชอบ
ในกุศลธรรมทั้งหลาย ก็มีอยู่ เทวดาที่ไม่เป็นผู้ทำมาตุฆาต ไม่เป็นผู้ทำ
ปิตุฆาต ไม่เป็นผู้ทำอรหันตฆาต ไม่เป็นผู้ทำโลหิตุปบาท ไม่เป็นผู้ทำ
สังฆเภท ก็มีอยู่ เทวดาที่ไม่เป็นผู้ทำปาณาติบาต ไม่เป็นผู้ทำอทินนา-
ทาน ไม่ประพฤติผิดในกาม ไม่กล่าวมุสาวาท ไม่กล่าวปิสุณาวาท
ไม่กล่าวผรุสวาท ไม่กล่าวสัมผัปปลาปวาท มิใช่ผู้มากด้วยอภิชฌา มิใช่
ผู้มีจิตพยาบาท เป็นสัมมาทิฏฐิ ก็มีอาทิผิด สระอยู่มิใช่หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. หากว่า เทวดาที่ไม่เป็นผู้เงอะงะ ไม่เป็นใบ้
เป็นผู้รู้เดียงสา ไม่ใช้ภาษาใบ้ มีกำลังพอจะรู้เนื้อความแห่งคำที่กล่าวดี
กล่าวชั่ว มีอยู่ ฯ ล ฯ เทวดาที่เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า ฯ ล ฯ เป็น
สัมมาทิฏฐิ ก็มีอยู่ ก็ต้องไม่กล่าวว่า การประพฤติพรหมจรรย์ไม่มีใน
หมู่เทวดา.
[๒๕๖] ป. การประพฤติพรหมจรรย์มีอยู่ในหมู่เทวดา หรือ
ส. ถูกแล้ว.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: