星期四, 一月 14, 2016

Hai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/45/11  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บทว่า ปวิเวกาธิมุตฺโต มีความว่า พยากรณ์อรหัตอย่างนี้ว่า
ข้าพเจ้าน้อมไปในวิเวก.
บทว่า สีลพฺพตปรามาสํ ได้แก่ สักว่าความถือที่ถืออิงศีลและพรต.
บทว่า สารโต ปจฺจาคจฺฉนฺโต ได้แก่ ทราบอยู่โดยความเป็น
แก่นสาร.
บทว่า อพฺยาปชฺฌาธิมุตฺโต มีความว่า พยากรณ์อรหัตซึ่งหาความ
เบียดเบียนมิได้. เนื้อความในวาระทั้งปวง พึงทราบโดยนัยนี้.
บทว่า ภุสา ได้แก่ มีกำลัง.
หลายบทว่า เนวสฺสา จิตฺตํ ปริยาทิยนฺติ มีความว่า อารมณ์
เหล่านั้น ไม่สามารถจะยึดอาทิผิด สระจิตของพระขีณาสพนั้นตั้งอยู่ได้.
บทว่า อมิสฺสีกตํ มีความว่า จิตของท่านอันอารมณ์ทำให้อาทิผิด สระเจือด้วย
กิเลสไม่ได้. อธิบายว่า อารมณ์ทั้งหลายอาทิผิด อักขระย่อมทำจิตให้เป็นธรรมชาติเจือกับ
กิเลสทั้งหลาย เพราะไม่มีกิเลสเหล่านั้น จิตของท่านจึงชื่อว่าอันอารมณ์ทำให้
เจือด้วยกิเลสไม่ได้.
บทว่า ฐิตํ ได้แก่ ตั้งมั่นอาทิผิด อาณัติกะ.
บทว่า อเนญฺชปฺปตฺตํ ได้แก่ ถึงความไม่หวั่นไหว.
บทว่า วยญฺจสฺสานุปสฺสติ ได้แก่ เห็นทั้งความอาทิผิด อักขระเกิด ทั้งความดับ
แห่งจิตนั้น.
สองบทว่า เนกฺขมฺมํ อธิมุตฺตสฺส ได้แก่ ตรัสรู้พระอรหัตตั้งอาทิผิด อักขระอยู่.
พระอรหัตนั่นเอง พระโสณโกลิวิสเถระ กล่าวแล้วแม้ด้วยบทที่เหลือทั้งหลาย.
บทว่า อุปาทานกฺขยสฺส เป็นฉัฏฐีวิภัตติใช้ในอรรถแห่งทุติยาอาทิผิด อักขระวิภัตติ.
สองบทว่า อสมฺโมหญฺจ เจตโส ได้แก่ และความไม่หลงงมงาย
แห่งจิต. ภิกษุนั้นน้อมไปแล้วด้วย.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: