Lohitam
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 26/116/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปรารถนาลามก ผู้มีอาจาระและโคจรลามก ถึง
ชื่อว่าอยู่ร่วมกับสมณะผู้บริสุทธิ์และผู้ไม่บริสุทธิ์ มี
สติมั่นคง แต่นั้นพวกเธอมีความพร้อมเพรียงกัน
มีปัญญารักษาตน ก็จักทำที่สุดทุกข์ได้.
ธรรมนี้ ชื่อว่า ปราศจากสมณะผ้าขี้ริ้ว แม้เพราะสมณะหยากเยื่อถูก
ตัดขาดแล้วด้วยประการฉะนี้. บทว่า อลเมว แปลว่า สมควรแท้. บทว่า
สทฺธาปพฺพชิเตน แปลว่า ผู้บวชด้วยศรัทธา. ในบทว่า กุลปุตฺเตน
กุลบุตรมี ๒ คือ อาจารกุลบุตรและชาติกุลบุตร. บรรดากุลบุตรทั้งสองนั้น
กุลบุตรผู้ใด ออกบวชจากตระกูลใดตระกูลหนึ่ง บำเพ็ญธรรมขันธ์ ๕
มีศีลขันธ์เป็นต้น กุลบุตรผู้นี้ ชื่อว่า อาจารกุลบุตร ส่วนกุลบุตรผู้ใด
ออกบวชจากตระกูลที่สมบูรณ์ด้วยชาติ ดั่งเช่นพระยศกุลบุตรเป็นต้น
กุลบุตรผู้นี้ ชื่อว่า ชาติกุลบุตร ในกุลบุตรทั้งสองนั้น ในที่นี้ท่านประสงค์
เอาอาจารกุลบุตร. ก็ถ้าชาติกุลบุตร มีอาจาระ ชาติกุลบุตรนี้ ก็จัดว่า
สูงสุดทีเดียว. อันกุลบุตรเห็นปานนั้น. บทว่า วิริยํ อารภิตุํ ได้แก่
เพื่อทำความเพียรประกอบด้วยองค์ ๔.
บัดนี้ เมื่อจะทรงแสดงความเพียรมีองค์ ๔ จึงตรัสว่า กามํ ตโจ
เป็นต้น. ในองค์ทั้ง ๔ นั้น ตโจ เป็นองค์ ๑ นหารุ เป็นองค์ ๑
อฏฺฐิ เป็นองค์ ๑. มํสโลหิตํอาทิผิด อักขระ เป็นองค์ ๑. ก็แลกุลบุตรผู้อธิษฐาน
ความเพียรประกอบด้วยองค์ ๔ นี้ พึงใช้ในฐานะทั้ง ๙ คือ ก่อน
อาหาร หลังอาหาร ยามต้น ยามกลาง ยามสุดท้าย เวลาเดิน เวลายืน
เวลานั่ง เวลานอน. บทว่า ทุกฺขํ ภิกฺขเว กุสิโต วิหรติ ความว่า
ในพระศาสนานี้ บุคคลใดเกียจคร้าน บุคคลนั้นย่อมอยู่เป็นทุกข์ แต่
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论