星期六, 十月 08, 2016

Racha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 14/407/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
คำว่า ติโรราชาอาทิผิด อักขระโน พระราชาภายนอก ความว่า พระราชาทั้งหลาย
ในภายนอกแคว้น คือในชนบทอื่น ก็รู้. คำว่า อพฺยตฺโต คือ ผู้ไม่มีปัญญา
กล้า ผู้ไม่ฉลาด. คำว่า โกเปนปิ ความว่า คนเหล่าใด กล่าวกะเราอย่างนี้
ข้าพเจ้าก็จักชัก จักนำ จักพาเขา ซึ่งมีทิฏฐิอย่างนั้นเที่ยวไป ด้วยความโกรธ
ที่เกิดในคนเหล่านั้น. คำว่า มกฺเขน ด้วยมักขะ คือ ความลบหลู่ ที่มีลักษณะ
ลบหลู่เหตุที่ท่านกล่าวแล้ว. คำว่า ปลาเสน ด้วยปลาสะ คือ ความตีตนเสมอ
อันมีลักษณะที่ถือว่าเป็นคู่ (เคียง) กับท่าน.
คำว่า หรีตกปณฺณํ ในสมอ คือ สมอ ชนิดใดชนิดหนึ่ง. อธิบายว่า
โดยที่สุด แม้ใบหญ้าอ่อนก็ไม่มี. คำว่า อาสนฺนทฺธกลาปํ คือ ผู้มีแล่งธนูอัน
ผูกสอดไว้แล้ว. คำว่า อาสิตฺโตทกานิ วฏุมานิ คือ หนทางและห้วยละ
หาร มีน้ำบริบูรณ์. คำว่า โยคฺคานิ คือ ยานเทียมโคงาน. คำว่า พหุนิกฺข-
นุตโร ความว่า ออกไปมาก ออกไปนานแล้ว. คำว่า ยถาภเตน ภณฺเฑน
ความว่า สิ่งของ คือหญ้าไม้และน้ำอันใด ที่พวกท่านบรรทุกมา ก็จงยังหมู่
เกวียนให้เป็นไป ด้วยสิ่งของที่ท่านนำมา บรรทุกมา พามา นั้นเถิด. คำว่า
อปฺปสารานิ คือมีค่าน้อย. คำว่า ปณิยานิ แปลว่า สิ่งของทั้งหลาย.
คำว่า มม จ สูกรภตฺตํ ความว่า นี้เป็นอาหารแห่งสุกรทั้งหลาย ของ
ข้าพเจ้า. คำว่า อุคฺฆรนฺตํ แปลว่า ไหลขึ้น. คำว่า ปคฺฆรนฺตํ แปลว่า ไหล
ลง. คำว่า ตุมฺเห เขฺวตฺถ ภเณ แปลว่า แน่ะอาทิผิด อาณัติกะพนาย พวกท่านต่างหาก เป็นบ้า
เสียจริต ในเรื่องนี้. อีกอย่างหนึ่ง บาลีก็อย่างนี้เหมือนกัน. คำว่า ตถา หิ ปน
เม สูกรภตฺตํ แปลว่า แต่ถึงอย่างนั้น คูถนี้ก็เป็นอาหารแห่งสุกรทั้งหลายของ
ข้าพเจ้า.
คำว่า อาคตาคตฺ กลึ แปลว่า กลืนเบี้ยแพ้ที่ทอดมาถึง ๆ เสีย. คำว่า
ปโชหิสฺสามิ ความว่า ข้าพเจ้าจักทำการเซ่นอาทิผิด  จักทำการบวงสรวง. คำว่า
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: