Tathakhot
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 25/6/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อรรถกถานาคสูตร
พึงทราบวินิจฉัยในนาคสูตรที่ ๒ ต่อไป :-
บทว่า สตฺตนฺธการติมิสายํ ได้แก่ ในราตรีมืดมาก คือมืดมีองค์
๔ ที่กระทำให้เป็นประหนึ่งคนตาบอด. บทว่า อชฺโฌกาเส นิสินฺโน โหติ
ความว่า เสด็จออกจากพระคันธกุฎี วางจีวรผืนใหญ่ไว้บนพระเศียร ประทับ
นั่งกำหนดความเพียรบนแผ่นหิน ท้ายที่จงกรม.
ถามว่า มรรคที่พระตถาคตอาทิผิด อักขระยังไม่เจริญ กิเลสที่ยังไม่ได้ละ อกุปปธรรม
ที่ยังไม่แทงตลอด หรือนิโรธที่ยังไม่ทำให้แจ้งของพระตถาคต ไม่มีเลยมิใช่
หรือ เพราะเหตุไร จึงได้ทรงกระทำอย่างนั้น. ตอบว่า พระศาสดาทรง
พิจารณาเห็นประโยชน์ดังขอช้าง [บังคับช้าง] สำหรับกุลบุตรทั้งหลายในอนาคต
ว่า กุลบุตรทั้งหลายในอนาคตกาล รำลึกถึงทางที่เราตถาคตอาทิผิด อักขระดำเนินไปแล้ว
สำคัญถึงที่อยู่ซึ่งควรอยู่กลางแจ้ง จักกระทำกรรมคือความเพียร จึงได้ทรง
กระทำดังนั้น. บทว่า มหา แปลว่า ใหญ่. บทว่า อริฏฺฐโก แปลว่า ดำ.
บทว่า มณิ ได้แก่ หิน. บทว่า เอวมสฺส สีสํ โหติ ความว่า ศีรษะ
ของช้างนั้น ก็เป็นอย่างนั้น คือ เสมือนหินก้อนใหญ่สีดำขนาดเท่าเรือนยอด.
ด้วยบทว่า สุภาสุภํ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ก็ท่านท่องเที่ยวอยู่
ตลอดกาลยาวนาน มาแปลงเพศทั้งดีและไม่ดี. อีกนัยหนึ่ง. บทว่า สํสรํ
แปลว่า ท่องเที่ยวมา. บทว่า ทีฆมทฺธานํ ได้แก่ ตลอดทางไกลตั้งแต่ถิ่น
ของท้าววสวัตดี จนถึงตำบลอุรุเวลาและตลอดกาลนาน กล่าวคือสมัยทรง
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论