星期五, 三月 31, 2017

Song Sap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 28/206/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ประกาศ เป็นผู้ทำเนื้อความให้ตื้น เป็นผู้ให้อมตธรรม เป็นเจ้าของแห่ง
ธรรม เป็นผู้ถึงธรรมที่แท้ เวลานี้เป็นกาลสมควรที่จะทูลถามเนื้อความข้อ
นั้นกะพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ทรงแก้ปัญหาแก่ท่านทั้งหลายอย่างใด
ท่านทั้งหลายพึงทรงจำความข้อนั้นไว้อย่างนั้นเถิด.
ภิ. ท่านอานนท์ ข้อที่ท่านว่านั้นเป็นการถูกต้องแล้ว พระผู้มี-
พระภาคเจ้าเมื่อทรงทราบอาทิผิด อักขระ ย่อมทราบ เมื่อทรงเห็น ย่อมเห็น พระองค์
เป็นผู้มีพระจักษุ มีพระญาณ มีธรรม เป็นผู้ประเสริฐ เป็นผู้กล่าว เป็นผู้
ประกาศ เป็นผู้ทำเนื้อความให้ตื้น เป็นผู้ให้อมตธรรม เป็นเจ้าของแห่ง
ธรรม เป็นผู้ถึงธรรมที่แท้ เวลานี้เป็นกาลสมควรที่จะทูลถามเนื้อความข้อ
นั้นกะพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ทรงแก้ปัญหาแก่พวกเราอย่างใด พวก
เราก็ควรทรงจำความข้อนั้นไว้อย่างนั้น ก็แต่ว่า ท่านอานนท์เป็นผู้ที่พระ-
ศาสดาและเพื่อนสพรหมจารีผู้เป็นปราชญ์ ยกย่องสรรเสริญ ที่ท่านก็
สามารถจะจำแนกเนื้อความแห่งอุเทศที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้โดย
ย่อ ไม่ทรงจำแนกเนื้อความให้พิสดารนี้ โดยพิสดารได้ ขอท่านอย่าได้
หนักใจ โปรดช่วยจำแนกเนื้อความทีเถิด.
[๑๗๕] อา. ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ถ้าอย่างนั้น ท่านทั้งหลาย
จงฟัง จงใส่ใจให้ดี ข้าพเจ้าจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นรับคำท่านพระอานนท์
แล้ว ท่านพระอานนท์กล่าวว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ข้อที่พระผู้มีพระภาค-
เจ้าทรงแสดงอุเทศโดยย่อไม่ทรงจำแนกเนื้อความให้พิสดาร เสด็จลุกจาก
พุทธอาสน์เข้าไปสู่พระวิหารเสียนั้น ข้าพเจ้าทราบแล้ว ผู้มีอายุทั้งหลาย
ผมย่อมทราบเนื้อความแห่งอุเทศที่ทรงแสดงโดยย่อ ไม่ทรงจำแนกเนื้อ
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 三月 28, 2017

Trat Tham

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 28/216/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

星期一, 三月 27, 2017

Sotani

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 45/215/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ยานิ โสตานิอาทิผิด อักขระ โลกสฺมึ สติ เตสํ นิวารณํ
โสตานํ สํวรํ พฺรูมิ ปญฺญาเยเต ปิถิยฺยเร
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อน
อชิตะ สติเป็นเครื่องห้ามกระแสในโลก
เรากล่าว ความสำรวมกระแสทั้งหลาย
กระแสเหล่านั้น พึงทำลายด้วยปัญญา
ดังนี้.
ขันติสังวรนี้มาแล้ว โดยนัยมีอาทิว่า ขโม โหติ สีตสฺส อุณฺหสฺส
เป็นผู้อดทนต่อความหนาวความร้อน. วีริยสังวรนี้มาแล้ว โดยนัยมีอาทิว่า
อุปฺปนฺนํ กามวิตกฺกํ นาธิวาเสติ ไม่ยอมให้กามวิตกที่เกิดขึ้นแล้วท่วมทับ
ได้. แต่โดยเนื้อความ เจตนาและวิรัติที่เป็นไปแล้ว ด้วยการละปาณาติบาต
เป็นต้น และด้วยการกระทำวัตรปฏิบัติ โดยย่อ คือการสำรวมกายและวาจา
ทั้งปวง โดยพิสดาร คือการไม่ล่วงกองอาบัติ ๗ ชื่อว่า สีลสังวร. สติสังวร
คือสตินั่นเอง หรือกุศลขันธ์อันมีสติเป็นประธาน. ญาณสังวร คือญาณนั่นเอง.
กุศลขันธ์อันเป็นไปแล้วด้วยความอดกลั้น เพราะมีอโทสะเป็นประธาน ชื่อว่า
ขันติสังวร. อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า ปัญญา. ความเพียรอันเป็นไปแล้ว
ด้วยความอดกลั้นกามวิตกเป็นต้น ชื่อว่า วีริยสังวร. ในสังวรเหล่านั้น พึง
ทราบว่า ข้อแรกชื่อว่า สังวร เพราะป้องกันความเป็นผู้ทุศีล มีกายทุจริต
เป็นต้น ข้อสองชื่อว่าสังวร เพราะป้องกันความหลงลืม ข้อสามชื่อว่าสังวร
เพราะป้องกันความไม่รู้ ข้อสี่ชื่อว่าสังวร เพราะป้องกันความไม่อดทน ข้อห้า
ชื่อว่าสังวร เพราะสำรวม คือปิดกั้นความเกียจคร้าน. อธิบายว่า เพื่อการ
สำรวม คือเพื่อให้สำเร็จการสำรวม เพื่อประโยชน์แก่การสำรวมนั้น ด้วย
ประการฉะนี้.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 三月 26, 2017

Tuean

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 49/211/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
จึงเดือดร้อนในภายหลัง พ้นจาก ๔ เดือนไปแล้ว
ข้าพเจ้าจักตาย จักไปตกนรกอันเผ็ดร้อนสาหัส
มี ๔ เหลี่ยม ๔ ประตู จำแนกเป็นห้อง ๆ ล้อม
ด้วยกำแพงเหล็ก ครอบด้วยแผ่นเหล็ก พื้นของ
นรกนั้น ล้วนแล้วด้วยทองแดงลุกเป็นเปลวเพลิง
ประกอบด้วยความร้อน แผ่ไปตลอดร้อยโยชน์
โดยรอบ ตั้งอยู่ทุกเมื่อ ข้าพเจ้าจักต้องเสวยทุกข-
เวทนาในนรกนั้นตลอดกาลนาน ก็การเสวย
ทุกขเวทนาเช่นนี้ เป็นผลแห่งกรรมอันชั่ว เพราะ
ฉะนั้น ข้าพเจ้าจึงเศร้าโศกที่จะไปเกิดในนรกอัน
เร่าร้อนนั้น ข้าแต่ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ข้าพเจ้า
ขอเตือนอาทิผิด อักขระท่านทั้งหลาย ขอความเจริญจงมีแก่ท่าน
ทั้งหลายผู้มาประชุมกันในที่นี้ พวกท่านอย่าได้
ทำบาปกรรมในที่ไหน ๆ คือ ในที่แจ้งหรือที่ลับ
ถ้าพวกท่านจักกระทำ หรือกระทำบาปกรรมนั้น
ไว้ แม้พวกท่านจะเหาะหนีไปอยู่ที่ไหน ก็ย่อม
ไม่พ้นไปจากทุกข์ ขอท่านทั้งหลายจงเลี้ยงมารดา
จงเลี้ยงบิดา ประพฤติอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ในสกุล
เป็นผู้เกื้อกูลแก่สมณะและพราหมณ์ ท่าน
ทั้งหลายจักไปสวรรค์ด้วยการปฏิบัติอย่างนี้
บุคคลจะอยู่ในอากาศ ในท่ามกลางมหาสมุทร
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 三月 24, 2017

Ti Tian

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 63/193/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ทั้งนั้น. บทว่า นตฺถิ มจฺจุสฺส นาคโม ความว่า พระราชาทรงครวญคร่ำ
รำพันว่า ความมาแห่งมัจจุนั้น เรารู้ในวันนี้เอง เมื่อก่อนแต่นี้ เราไม่รู้เลย.
บทว่า สฺ วาชฺเชวงฺคเต กาเล ความว่า พระราชาทรงแสดงว่า สามบัณฑิตใด
ถูกลูกศรอาบยาพิษซึมซาบแล้วเจรจาอยู่กะเราในบัดนี้ทีเดียว สามบัณฑิตนั้น
ครั้นมรณกาลไปคือเป็นไปอย่างนี้ในวันนี้ ไม่กล่าวอะไร ๆ แม้แต่น้อยเลย.
บทว่า ตทา หิ ความว่า เราผู้ยิงสามบัณฑิตในขณะนั้นได้กระทำบาปแล้ว.
บทว่า จิรํ รตฺตาย กิพฺพิสํ ความว่า ก็บาปนั้นทารุณหยาบช้าสามารถทำ
ให้เดือดร้อนตลอดราตรีนาน. บทว่า ตสฺส ความว่า ติเตียนเรานั้น ผู้เที่ยว
ทำกรรมชั่วเห็นปานนี้. บทว่า วตฺตาโร ความว่า ย่อมติเตียน. ติเตียนที่ไหน ?
ติเตียนอาทิผิด ในบ้าน. ติเตียนว่าอย่างไร ติเตียนว่าเป็นผู้ทำกรรมหยาบช้า.
พระราชาทรงคร่ำครวญว่า ก็ในป่าอันหามนุษย์มิได้นี้ ใครเล่าควร
จะกล่าวติเตียนเรา ถ้าจะมี ก็พึงว่ากล่าวเรา. บทว่า สารยนฺติ ได้แก่ ใน
บ้านหรือในนิคมเป็นต้น. บทว่า สํคจฺฉ มาณวา ความว่า คนทั้งหลาย
จะประชุมกันในที่นั้น ๆ จะยังกันและกัน ให้ระลึกถึงกรรมทั้งหลาย จะโจทนา
อย่างนี้ว่า แน่ะท่านผู้ฆ่าคน ท่านทำทารุณกรรม ท่านต้องได้รับโทษอย่างโน้น
แต่ในป่าอันหามนุษย์มิได้นี้ ใครเล่าจักยังพระราชานี้ให้ระลึกถึงกรรม พระ-
ราชาทรงโจทนาตนคร่ำครวญอยู่อย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้.
กาลนั้น เทพธิดามีนามว่าพสุนธรีอาทิผิด สระ อยู่ภูเขาคันธมาทน์ เคยเป็นมารดา
ของพระมหาสัตว์ในอัตภาพที่เจ็ด พิจารณาดูพระโพธิสัตว์อยู่เป็นนิจ ด้วย
ความสิเนหาในบุตร ก็วันนั้นนางเสวยทิพยสมบัติ มิได้พิจารณาดูพระมหาสัตว์
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 三月 23, 2017

Anapanassati

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 69/196/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
กว่านั้น. บทว่า ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี ท่านกล่าวด้วยอำนาจแห่งวิปัสสนา
อันกล้าแข็ง ใกล้มรรคเข้าไปแล้ว.
แม้มรรคก็มิได้ทำลายไปในวิปัสสนาที่ได้ ท่านกล่าวจตุกะนี้ด้วย
อำนาจแห่งวิปัสสนาบริสุทธิ์ แต่ ๓ อย่างข้างต้น ท่านกล่าวด้วยอำนาจแห่ง
สมถะและวิปัสสนา.
จบอรรถกถาอานาปานอาทิผิด สติมาติกกา

บัดนี้ เพื่อแสดงจำแนกมาติกาตามที่วางไว้โดยลำดับ จึงเริ่มบทมีอา-
ทิว่า อิธาติ อิมิสฺสา ทิฏฺฐิยา. บทว่า อิธ คือในทิฏฐินี้. ในบทเหล่านั้น
ท่านกล่าวถึงคำสอนของพระสัพพัญญูพุทธเจ้าเท่านั้น อันได้แก่ไตรสิกขาด้วยบท
๑๐ บทมีอาทิว่า อิมิสฺสา ทิฏฺฐิยา ในทิฏฐินี้ เพราะคำสอนนั้นท่านกล่าวว่า
ทิฏฐิ เพราะพระพุทธเจ้าผู้มีพระภาคทรงเห็นแล้ว ท่านกล่าวว่า ขันติ
ด้วยสามารถความอดทน กล่าวว่า รุจิ ด้วยสามารถความชอบใจ กล่าวว่า
เขต ด้วยสามารถการถือเอา กล่าวว่า ธรรม ด้วยอรรถว่าเป็นสภาวธรรม
กล่าวว่า วินัย ด้วยอรรถว่าควรศึกษา กล่าวว่า ธรรมวินัย แม้ด้วยอรรถ
ทั้งสองนั้น กล่าวว่า ปาพจน์ ด้วยสามารถธรรมที่ตรัส กล่าวว่า
พรหมจรรย์ ด้วยอรรถว่าเป็นความประพฤติอันประเสริฐ กล่าวว่า สัตถุ-
ศาสน์ ด้วยสามารถให้คำสั่งสอน.
เพราะฉะนั้น ในบทว่า อิมิสฺสา ทิฏฺฐิยา เป็นต้นพึงทราบ
ความว่า ในความเห็นของพระพุทธเจ้านี้ ในความอดทนของพระพุทธเจ้านี้
ในความชอบใจของพระพุทธเจ้านี้ ในเขตของพระพุทธเจ้านี้ ในธรรมของ
พระพุทธเจ้านี้ ในวินัยของพระพุทธเจ้านี้ ในธรรมและวินัยของพระพุทธเจ้านี้
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 三月 18, 2017

Khuankhwai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 69/203/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บทว่า อทฺธานสงฺขาเต คือในกาลที่นับยาว. ทางยาวท่านก็เรียกว่า
อทฺธาโน. แม้กาลนี้ท่านก็กล่าวว่า อทฺธาโน เพราะยาวดุจทางยาว แม้กล่าว
ลมอัสสาสะ และลมปัสสาสะต่างหากกันว่า อสฺสสติ หายใจเข้าบ้าง และ
ปสฺสติ หายใจออกบ้าง เพื่อแสดงความเป็นไปตามลำดับแห่งภาวนา ท่าน
จึงกล่าวย่ออีกว่า อสฺสสติ บ้าง ปสฺสสติ บ้าง. บทว่า ฉนฺโท อุปฺปชฺชติ
ฉันทะย่อมเกิด คือ ฉันทะย่อมเกิดเพื่อความยิ่ง ๆ ในรูปแห่งความเจริญยิ่งของ
ภาวนา. บทว่า สุขุมตรํ ละเอียดกว่า ท่านกล่าวเพราะมีความสงบ. บทว่า
ปามุชฺชํ อุปฺปชฺชติ ความปราโมทย์ย่อมเกิด คือปีติย่อมเกิด เพราะความ
บริบูรณ์แห่งภาวนา.
บทว่า อสฺสาสปสฺสาสาปิ จิตฺตํ วิวฏฺฏติ จิตย่อมหลีกออกจาก
ลมอัสสาสปัสสาสะ คือ เมื่อปฏิภาคนิมิตเกิด เพราะอาศัยลมอัสสาสปัสสาสะ
จิตย่อมกลับจากลมอัสสาสปัสสาสะปกติ. บทว่า อุเปกฺขา สณฺฐาติ อุเบกขา
ย่อมตั้งอยู่ คือในปฏิภาคนิมิตนั้น มัชฌัตตุเบกขาอันเป็นอุปจาระและอัปปนา
ย่อมตั้งอยู่ เพราะไม่มีความขวนขวายอาทิผิด อักขระในการตั้งไว้ซึ่งการบรรลุสมาธิ.
บทว่า นวหากาเรหิ ด้วยอาการ ๙ อย่าง ได้แก่ อาการ ๙ อย่าง
คือ อาการ ๓ ท่านกล่าวว่า อสฺสสติ บ้าง ปสฺสสติ บ้าง ก่อนแต่ฉันทะเกิด
ตั้งแต่เริ่มภาวนา อาการ ๓ ก่อนความปราโมทย์เกิดตั้งแต่ฉันทะเกิด อาการ
๓ ตั้งแต่ความปราโมทย์เกิด. บทว่า กาโย กาย ชื่อว่า กาย เพราะประชุม
ลมอัสสาสะและปัสสาสะที่เป็นของละเอียด ๆ ขึ้นไป. แม้นิมิตที่เกิดเพราะอาศัย
ลมอัสสาสะปกติปัสสาสะปกติ ก็ย่อมได้ชื่อว่า ลมอัสสาสะ ปัสสาสะ.
บทว่า อุปฏฺฐานํ สติ สติปรากฏ ชื่อว่า สติปรากฏ เพราะสติ
กำหนดอารมณ์นั้นตั้งอยู่. บทว่า อนุปสฺสนาาณํ สติเป็นอนุปัสสนาญาณ
 
พระปิฎกธรรม

Khuen

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 89/208/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม
และจิต.
ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และ
หทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม และกฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๙. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัย
จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้นอาทิผิด เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่
จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
จิตตสหภูธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภู-
ธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม
และมหาภูตรูปทั้งหลาย ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๙๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
อรูปทั้งหมดพึงยกขึ้นแสดงเหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 三月 14, 2017

Wai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 8/232/7  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[๓๕๓] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าสงฆ์มีภิกษุผู้ควรมานัตเป็นที่ ๔
พึงให้ปริวาส พึงชักเข้าหาอาบัติเดิม พึงให้มานัต สงฆ์ ๒๐ รูป ทั้งภิกษุ
ผู้ควรมานัตนั้นพึงอัพภาน การกระทำดังนั้น ใช้ไม่ได้และไม่ควรทำ
มานัตตารหวัตร จบ
เรื่องมานัตตจาริกภิกษุ
[ ๓๕๔] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายผู้ประพฤติมานัตยินดีการ
กราบไหว้อาทิผิด อาณัติกะ การลุกรับ อัญชลีกรรม สามีจิกรรม การนำอาสนะมาให้
การนำที่นอนมาให้ การล้างเท้า การตั้งตั่งรองเท้า การตั้งกระเบื้อง
เช็ดเท้า การรับบาตรจีวร การถูหลังให้เมื่ออาบน้ำ ของปกตัตตะภิกษุ
ทั้งหลาย บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย....ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพน
ทะนาว่า ไฉนมานัตตจาริกภิกษุทั้งหลายจึงได้ยินดีการกราบไหว้ การลุก
รับ อัญชลีกรรม สามีจิกรรม การนำอาสนะมาให้ การนำที่นอนมาให้
การล้างเท้า การตั้งตั่งรองเท้า การตั้งกระเบื้องเช็ดเท้า การรับบาตรจีวร
การถูหลังให้เมื่ออาบน้ำ ของปกตัตตะภิกษุทั้งหลายเล่า แล้วกราบทูล
เรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า.
ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม
[๓๕๕] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์
ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถาม
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 三月 13, 2017

Chomphu

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 33/208/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถาวรรคที่ ๔

วรรคที่ ๔ สูตรที่ ๑ พึงทราบวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
บทว่า ชมฺพูทีเป ความว่า ชื่อว่า ชมพูอาทิผิด อักขระทวีป เพราะเป็นทวีปที่รู้
กันทั่วไป คือ ปรากฏด้วย ต้นหว้าเป็นสำคัญ. เขาว่าทวีปนี้มีต้นหว้าใหญ่
ตระหง่านสูง ๑๐๐ โยชน์ กิ่งยาว ๕๐ โยชน์ ลำต้นกลม ๑๕ โยชน์
เกิดอยู่ที่เขาหิมพานต์ตั้งอยู่ชั่วกัป. ทวีปนี้เรียกว่าชมพูทวีป เพราะมีต้น
หว้าใหญ่นั้น. อนึ่ง ในทวีปนี้ ต้นหว้าตั้งอยู่ชั่วกัป ฉันใด แม้ต้นไม้
เหล่านี้ คือ ต้นกระทุ่ม ในอมรโคยานทวีป ต้นกัลปพฤกษ์ ในอุตตรกุรุ-
ทวีป ต้นซึกอาทิผิด สระ ในบุพพวิเทหทวีป ต้นแคฝอยของพวกอสูร ต้นงิ้วของ
พวกครุฑ ต้นปาริชาตของพวกเทวดา ก็ตั้งอยู่ชั่วกัปเหมือนกัน ฉันนั้น.
ท่านประพันธ์เป็นคาถาไว้ว่า
ปาตลี สิมฺพลี ชมฺพู เทวานํ ปาริฉตฺตโก
กทมฺโพ กปฺปรุกโข จ สิรีเสน ภวติ สตฺตโม
แปลว่า
ต้นแคฝอย ต้นงิ้ว ต้นหว้า ต้นปาริชาต ของ
เทวดา ต้นกระทุ่ม ต้นกัลปพฤกษ์ และต้นซึกอาทิผิด สระ
ครบ ๗ ต้น.
บทว่า อารามรามเณยฺยกํ ความว่า บรรดาสวนดอกไม้และสวน
ผลไม้ ที่น่ารื่นรมย์ เช่น สวนพระเวฬุวัน ชีวกัมพวัน เชตวัน และ
บุพพาราม. สวนอันน่ารื่นรมย์นั้น ในชมพูทวีปนี้มีน้อย คือ นิดหน่อย

๑. บาลีข้อ ๒๐๕-๒๐๖
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 三月 10, 2017

Yiap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 72/226/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ภิกษุผู้มากไปด้วยความปราโมทย์
เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา จะพึงบรรลุบทอัน
สงบ อันเข้าไประงับสังขารเป็นสุขได้ ดังนี้.
ทรงเหยียดพระหัตถ์ตรัสว่า มานี่เถิด วักกลิ. พระเถระได้เกิดปีติและโสมนัสใจ
เป็นกำลังว่า เราจะได้เห็นพระทศพลแล้ว ความไม่เสื่อมเราได้แล้ว ด้วย
พระดำรัสว่า จงมา ดังนี้แล้วคิดว่า เราจะไปทางไหน แล้วไม่รู้หนทางที่ตน
จะไปเฝ้า จึงไปในอากาศเฉพาะพระพักตร์พระศาสดา โดยเอาเท้าข้างหนึ่ง
เหยียบอาทิผิด อักขระบนภูเขา รำพึงถึงพระคาถาที่พระศาสดาได้ตรัสแล้ว ข่มปีติในอากาศ
นั่นแล บรรลุพระอรหัตพร้อมด้วยปฏิสัมภิทา แล้วข่มเรื่องที่ว่ามานี้ มา
ในอรรถกถาอังคุตตรนิกาย และในอรรถกถาธรรมบทแล.
ส่วนในอรรถกถานี้ นักศึกษาพึงทราบอย่างนี้ว่า พระวักกลิพอได้รับ
พระโอวาทจากพระศาสดา โดยนัยเป็นต้นว่า กึ เต วกฺกลิ อิมินา ปูติกาเยน
ทิฏฺเฐน ดูก่อนวักกลิ จะมีประโยชน์อะไร ด้วยการที่เธอต้องมาดูร่างกายอัน
เปื่อยเน่านี้ ดังนี้แล้ว ก็อยู่บนภูเขาคิชฌกูฏเริ่มเจริญวิปัสสนา เพราะความที่
เธอมีศรัทธาหนักมากไป วิปัสสนาจึงไม่หยั่งลงสู่วิถี พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง
ทราบเรื่องนั้นแล้ว ได้ทรงประทานให้เธอชำระกัมมัฏฐานใหม่. พระวักกลินั้น
ไม่สามารถจะทำวิปัสสนาให้ถึงที่สุดได้เลยทีเดียว.
ต่อมาอาพาธเนื่องด้วยลม เกิด ขึ้นแก่เธอ เพราะความบกพร่องแห่ง
อาหาร (ท้องว่าง) พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบว่าเธอถูกอาพาธเนื่องด้วย
โรคลมเบียดเบียน จึงเสด็จไปในที่นั้น เมื่อจะตรัสถาม จึงตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุ เมื่อเธออยู่ในป่าใหญ่ ซึ่ง
เป็นที่ปราศจากโคจร เป็นที่เศร้าหมอง ถูกโรคลม
ครอบงำจักทำอย่างไร
พระเถระได้สดับพระดำรัสนั้นแล้ว จึงกราบทูลด้วยคาถา ๔ คาถาว่า
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 三月 06, 2017

Dap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 82/202/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ปัจจุปปันนานาคตวาระ อนุโลม
ปุคคลวาระ
รูปขันธมูล
รูปขันธมูละ เวทนาขันธมูลี :-
[๒๐๐] รูปขันธ์กำลังดับแก่บุคคลใด, เวทนาขันธ์ก็จักดับ
แก่บุคคลนั้น ใช่ไหม ?
บุคคลที่กำลังปรินิพพานในปัญจโวการภูมิ รูปขันธ์กำลังดับแก่
บุคคลเหล่านั้น แต่เวทนาขันธ์ไม่ใช่จักดับแก่บุคคลเหล่านั้น, บุคคล
นอกจากนี้ที่กำลังตายในปัญจโวการภูมิก็ดี บุคคลที่กำลังตายในอสัญญ-
สัตตภูมิก็ดี รูปขันธ์กำลังดับ และเวทนาขันธ์ก็จักดับแก่บุคคลเหล่านั้น.
ก็หรือว่า เวทนาขันธ์จักดับอาทิผิด อักขระแก่บุคคลใด, รูปขันธ์ก็กำลังดับแก่
บุคคลนั้น ใช่ไหม ?
บุคคลเหล่านั้นทั้งหมดที่กำลังเกิดก็ดี บุคคลที่กำลังตายในอรูป-
ภูมิก็ดี เวทนาขันธ์จักดับแก่บุคคลเหล่านั้น แต่รูปขันธ์ไม่ใช่กำลังดับ
แก่บุคคลเหล่านั้น, บุคคลที่กำลังตายในปัญจโวการภูมิก็ดี บุคคลที่
กำลังตายในอสัญญสัตตภูมิก็ดี เวทนาขันธ์จักดับ และรูปขันธ์ก็กำลัง
ดับแก่บุคคลเหล่านั้น.
จบ รูปขันธมูละ เวทนาขันธมูลี
รูปขันธมูล จบ
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 三月 05, 2017

Fa

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 72/229/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระโลกนาถ พระผู้นำของชาวโลก หม่อมฉันขอถวายทารกนี้แด่พระองค์
ขอพระองค์จงทรงเป็นที่พึ่งของทารกนี้ด้วยเถิด. บทว่า ตทา ปฏิคฺคหิ โส มํ
ความว่า ในคราวที่มารดาถวายเราแล้วนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
ได้ทรงรับเราด้วยฝ่าอาทิผิด อักขระพระหัตถ์อันอ่อนนุ่มบริสุทธิ์ มีตาข่าย คือประกอบด้วย
ตาข่ายที่ท่านกำหนดด้วยจักรลักษณะเป็นต้น. บทว่า สพฺพปารมิสมฺภูตํ ความ
ว่า อันบังเกิดพร้อมด้วยพระบารมีทุกอย่าง มีทานบารมีเป็นต้น. บทว่า
นีลกฺขินยนํ วรํ ได้แก่ มีดวงตาสีเขียวอันอุดม เกิดแต่บุญสมภาร. บทว่า
สพฺพสุภากิณฺณํ ความว่า ได้ดูพระรูปเช่น พระหัตถ์ พระบาท และพระ-
เศียรเป็นต้นของพระผู้มีพระภาคเจ้า อันลึกซึ้งเกลื่อนกล่นไปด้วยพระวรรณะ
สัณฐานอันงดงามพร้อมสรรพ. เชื่อมความว่า เรา (ดู) อยู่ ไม่ถึงความอิ่ม.
บทว่า ตทา นํ จรณนฺตโค ความว่า เมื่อเราได้บรรลุพระอรหัต
แล้วนั้น ได้ทรงทำที่สุดแห่งจรณะธรรม ๑๕ ประการมีศีลเป็นข้อต้น อธิบาย
ว่า บรรลุถึงที่สุด คือบำเพ็ญจนเต็มบริบูรณ์. บาลีเป็น มรณนฺตโค ดังนี้
ก็มี อธิบายว่า ถึงที่สุดแห่งความตายนั้น ก็คือพระนิพพาน เชื่อมอาทิผิด ความว่าได้
ทรงตั้งไว้ในตำแหน่งที่เลิศกว่าพวกภิกษุผู้เป็นสัทธาธิมุต. มีคำที่ท่านกล่าว
อธิบายไว้ว่า ลำดับนั้น พระศาสดาประทับนั่งในท่ามกลางภิกษุสงฆ์ ทรง
สถาปนาเราไว้ในตำแหน่งที่เลิศด้วยพระดำรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย วักกลิ
เป็นผู้เลิศกว่าพวกภิกษุสาวกของเราผู้เป็นสัทธาธิมุตแล. คำที่เหลือมีเนื้อความ
พอกำหนดรู้ได้โดยง่ายทีเดียวแล.
จบอรรถกถาวักกลิเถราปทาน
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 三月 03, 2017

Than

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/223/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
กองนอกจากนี้ ชื่อว่าผู้วิบัติด้วยอาจาระในอัชฌาจาร. ผู้ละสัมมาทิฏฐิเสีย
ประกอบด้วยอันตคาหิกมิจฉาทิฏฐิ ชื่อว่าผู้วิบัติด้วยทิฏฐิในอติทิฏฐิ. สุตะมี
ประมาณเท่าใดอันภิกษุผู้ปกครองบริษัทพึงปรารถนา เพราะปราศจากสุตะนั้น
ชื่อว่าผู้มีสุตะน้อย. เพราะไม่รู้ส่วนที่เธอควรรู้มีอาบัติเป็นต้น จึงชื่อว่าผู้มี
ปัญญาทราม. ก็ในปัญจกะนี้ สามบทเบื้องต้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสด้วย
อำนาจแห่งภิกษุผู้ไม่สมควรเท่านั้น สองบทเบื้องปลายตรัสด้วยอำนาจองค์แห่ง
อาบัติ.
ข้อว่า อาปตฺตึ น ชานาติ มีความว่า เมื่อสัทธิวิหาริกหรืออัน
เตวาสิกบอกว่า กรรมเช่นนี้ ผมทำเข้าแล้ว ดังนี้ เธอไม่ทราบว่า ภิกษุนี้
ต้องอาบัติชื่อนี้.
ข้อว่า วุฏฺฐานํ น ชานาติ มีความว่า ไม่รู้จักว่า ความออกจาก
อาบัติ ที่เป็นวุฏฐาอาทิผิด สระนคามินี หรือเทศนาคามินี เป็นอย่างนี้. ในปัญจกะนี้
๒ บทเบื้องต้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสด้วยอำนาจแห่งภิกษุผู้ไม่สมควร สาม
บทเบื้องปลาย ตรัสด้วยอำนาจองค์แห่งอาบัติ.
ข้อว่า อภิสมาจาริกาย สิกฺขาย มีความว่า เป็นผู้ไม่สามารถ
เพื่อจะแนะนำในขันธกวรรค.
ข้อว่า อาทิสมาจาริกาย มีความว่า เป็นผู้ไม่สามารถเพื่อจะแนะ
นำในพระบัญญัติควรศึกษา.
ข้อว่า อภิธมฺเม มีความว่า เป็นผู้ไม่สามารถเพื่อจะแนะนำในนาม
รูปปริจเฉท.
ข้อว่า อภิวินเย มีความว่า เป็นผู้ไม่สามารถจะแนะนำในวินัยปิฎก
ล้วน. ส่วนสองบทว่า วิเนตุํ น ปฏิพโล มีความว่าย่อมไม่อาจเพื่อให้
ศึกษาในทุกอย่าง.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 三月 02, 2017

Phuen

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 9/222/3  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บรรดาเครื่องเรือนมีเสา ขื่ออาทิผิด อักขระ บันได และกระดานเป็นต้น เครื่องเรือน
อย่างใด อย่างหนึ่ง ซึ่งทำด้วยไม้ก็ตาม ทำด้วยศิลาก็ตาม เสื่อลำแพนชนิดใด
ชนิดหนึ่ง ที่เขาถวายสงฆ์แล้ว เป็นครุภัณฑ์สมควรทำให้เป็นเครื่องลาดพื้นอาทิผิด .
ส่วนหนังแพะ ซึ่งแม้มีคติอย่างเครื่องปูลาด ก็เป็นครุภัณฑ์เหมือนกัน .
หนังที่เป็นกัปปิยะ เป็นของควรแจกกันได้.
แต่ในกุรุนทีอาทิผิด อาณัติกะแก้ว่า หนังทุกชนิดมีขนาดเท่าเตียง เป็นครุภัณฑ์. ครก
สาก กระด้งอาทิผิด สระ หินบด ลูกหินบด รางศิลา อ่างศิลา ภัณฑะของช่างหูกเป็น
อาทิทุกอย่าง มีกระสวย ฟืม และกระทอเป็นต้น เครื่องทำนาทุกอย่าง
ล้อเลื่อนทุกอย่าง เป็นครุภัณฑ์ทั้งอาทิผิด อาณัติกะนั้น.
เท้าเตียง แม่แคร่เตียง เท้าตั่ง แม่แคร่ตั่ง ด้ามมีดและสว่านเป็นต้น
ในของเหล่านี้ อย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งถากค้างอาทิผิด อักขระไว้ยังไม่ทันเสร็จ แจกกันได้ แต่
ที่ถากเกลี้ยงเกลาแล้ว เป็นครุภัณฑ์.
อนึ่ง ของเช่นนี้ คือ ด้ามมีดที่ทรงอนุญาต ด้ามและปีกกลด ไม้เท้า
รองเท้า ไม้สีไฟ กระบอกกรอง กระติกน้ำทรงมะขามป้อม หม้อน้ำทรง
มะขามป้อม กระติกน้ำลูกน้ำเต้า หม้อน้ำหนัง หม้อน้ำทรงน้ำเต้า กระติกน้ำ
ทำด้วยเขา จุน้ำไม่เกินบาทหนึ่ง แจกกันได้ทุกอย่าง เขื่องกว่านั้นเป็นครุภัณฑ์.
งาช้างหรือเขาชนิดใดชนิดหนึ่ง ยังมิได้เกลา คงอยู่อย่างเดิม แจก
กันได้.
ในเท้าเตียงเป็นต้น ที่ทำด้วยงาช้างและเขาเหล่านั้น มีวินิจฉัยเช่นกับ
ที่มีมาแล้วในหนหลังนั่นเอง.
ของเช่นนี้ คือ กลักใส่หิงคุ กลักใส่ยาตา แม้ถากเกลาเสร็จแล้ว
ลูกดุม รังดุม แท่นยาตา ด้ามยาตา กราดกวาดน้ำ ทุกอย่างแจกกันได้ทั้งนั้น.
วินิจฉัยในของที่ทำด้วยดิน พึงทราบดังนี้:-
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 三月 01, 2017

Nakhon

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 25/217/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๘. อัคคิกสูตร

ว่าด้วยผู้ถึงพร้อมด้วยไตรวิชชา

[๖๕๒] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ในพระวิหารเวฬุวัน
อันเป็นที่พระราชทานเหยื่อแก่กระแต เขตพระนครราชคฤห์อาทิผิด
ก็โดยสมัยนั้นแล อัคคิกภารทวาชพราหมณ์ปรุงข้าวปายาสด้วยเนยใส
ด้วยคิดว่า เราจักบูชาไฟ จักบำเรอการบูชาไฟ.
[๖๕๓] ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงนุ่งแล้ว ทรงถือบาตร
และจีวรเสด็จเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาตในเวลาเช้า เสด็จไปบิณฑบาต
ในกรุงราชคฤห์ตามลำดับตรอก เสด็จเข้าไปยังที่อยู่ของอัคคิกภารทวาชพราหมณ์
ครั้นแล้วได้ประทับยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.
[๖๕๔] อัคคิกภารทวาชพราหมณ์ ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับ
ยืนเพื่อบิณฑบาต ครั้นแล้วได้กราบทูลกะพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยคาถาว่า
พราหมณ์ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยไตร-
วิชชา มีชาติ ฟังคัมภีร์เป็นอันมาก ถึง
พร้อมแล้วด้วยวิชชาและจรณะ พราหมณ์
นั้นควรบริโภคปายาสนี้.
[๖๕๕] พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า
พรามหมณ์ผู้กล่าวถ้อยคำแม้มาก เป็น
ผู้เน่าและเศร้าหมองในภายใน อันความ
โกหกแวดล้อมแล้ว ย่อมไม่ชื่อว่าเป็น
พราหมณ์เพราะชาติ ผู้ใดรู้บุพเพนิวาส
และเห็นทั้งสวรรค์ทั้งอบาย อนึ่ง ถึงความ
 
พระปิฎกธรรม