Than
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/223/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
กองนอกจากนี้ ชื่อว่าผู้วิบัติด้วยอาจาระในอัชฌาจาร. ผู้ละสัมมาทิฏฐิเสีย
ประกอบด้วยอันตคาหิกมิจฉาทิฏฐิ ชื่อว่าผู้วิบัติด้วยทิฏฐิในอติทิฏฐิ. สุตะมี
ประมาณเท่าใดอันภิกษุผู้ปกครองบริษัทพึงปรารถนา เพราะปราศจากสุตะนั้น
ชื่อว่าผู้มีสุตะน้อย. เพราะไม่รู้ส่วนที่เธอควรรู้มีอาบัติเป็นต้น จึงชื่อว่าผู้มี
ปัญญาทราม. ก็ในปัญจกะนี้ สามบทเบื้องต้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสด้วย
อำนาจแห่งภิกษุผู้ไม่สมควรเท่านั้น สองบทเบื้องปลายตรัสด้วยอำนาจองค์แห่ง
อาบัติ.
ข้อว่า อาปตฺตึ น ชานาติ มีความว่า เมื่อสัทธิวิหาริกหรืออัน
เตวาสิกบอกว่า กรรมเช่นนี้ ผมทำเข้าแล้ว ดังนี้ เธอไม่ทราบว่า ภิกษุนี้
ต้องอาบัติชื่อนี้.
ข้อว่า วุฏฺฐานํ น ชานาติ มีความว่า ไม่รู้จักว่า ความออกจาก
อาบัติ ที่เป็นวุฏฐาอาทิผิด สระนคามินี หรือเทศนาคามินี เป็นอย่างนี้. ในปัญจกะนี้
๒ บทเบื้องต้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสด้วยอำนาจแห่งภิกษุผู้ไม่สมควร สาม
บทเบื้องปลาย ตรัสด้วยอำนาจองค์แห่งอาบัติ.
ข้อว่า อภิสมาจาริกาย สิกฺขาย มีความว่า เป็นผู้ไม่สามารถ
เพื่อจะแนะนำในขันธกวรรค.
ข้อว่า อาทิสมาจาริกาย มีความว่า เป็นผู้ไม่สามารถเพื่อจะแนะ
นำในพระบัญญัติควรศึกษา.
ข้อว่า อภิธมฺเม มีความว่า เป็นผู้ไม่สามารถเพื่อจะแนะนำในนาม
รูปปริจเฉท.
ข้อว่า อภิวินเย มีความว่า เป็นผู้ไม่สามารถจะแนะนำในวินัยปิฎก
ล้วน. ส่วนสองบทว่า วิเนตุํ น ปฏิพโล มีความว่าย่อมไม่อาจเพื่อให้
ศึกษาในทุกอย่าง.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论