turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 2/261/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พรรณนาคุณแห่งความตายแก่อุบาสกนั้น ครั้นดำริฉะนั้นแล้ว จึงเข้าไปหา
อุบาสกนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ดูก่อนอุบาสก ท่านเป็นผู้ทำความดีไว้แล้ว ทำกุศล
ไว้แล้ว ทำความต้านทานต่อความขลาดไว้แล้ว มิได้ทำบาป มิได้ทำความชั่ว
มิได้ทำความเสียหาย ทำแต่อาทิผิด อักขระความดี ไม่ได้ทำบาป จะประโยชน์อะไรแก่ท่าน
ด้วยชีวิตอันแสนลำบากยากแค้นนี้ ท่านตายเสียดีกว่าเป็นอยู่ ตายจากโลกนี้แล้ว
เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ท่านจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ จักได้รับบำเรอ
เพียบอาทิผิด พร้อมอิ่มเอิบด้วยเบญจกามคุณ อันเป็นทิพย์ ในสุคติโลกสวรรค์นั้น.
ครั้งนั้น อุบาสกนั้นเห็นจริงว่า ท่านพูดจริง เพราะเราทำความดีไว้
แล้ว ทำกุศลไว้แล้ว ทำความต้านทานต่อความขลาดไว้แล้ว มิได้ทำบาป
มิได้ทำความชั่ว มิได้ทำความเสียหาย เราทำแต่ความดี เรามิได้ทำความชั่ว
จะประโยชน์อะไรแก่เรา ด้วยชีวิตอันแสนลำบากยากแค้นนี้ เราตายเสียดีกว่า
เป็นอยู่ ตายจากโลกนี้แล้ว เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก เราจักเข้าถึง
สุคติโลกสวรรค์ จักได้รับบำเรอเพียบอาทิผิด อักขระพร้อมอิ่มเอิบด้วยเบญจกามคุณอันเป็น
ทิพย์ ในสุคติโลกสวรรค์นั้น ดังนี้แล้ว เขาจึงรับประทานโภชนะที่แสลง
เคี้ยวขาทนียะที่แสลง ลิ้มสายนียะที่แสลง และดื่มปานะที่แสลง เมื่อเป็นเช่นนั้น
ความป่วยหนักก็เกิดขึ้น เขาถึงแก่กรรมเพราะความป่วยไข้นั่นเอง ภริยาของ
เขาจึงเพ่งโทษว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ เป็นผู้ไม่ละอาย
ทุศีล พูดเท็จ แท้จริง พระสมณะเหล่านี้ ยังปฏิญาณตนว่า เป็นผู้ประพฤติธรรม
ประพฤติสงบ ประพฤติพรหมจรรย์ กล่าวคำสัตย์ มีศีล มีกัลยาณธรรม
ติเตียนว่า ความเป็นสมณะย่อมไม่มีแก่พระสมณะเหล่านี้ ความเป็นพราหมณ์
ของพระสมณะเหล่านี้หามีไม่ ความเป็นสมณะ ความเป็นพราหมณ์ของพระ
สมณะเหล่านี้ พินาศแล้ว ความเป็นสมณะ ความเป็นพราหมณ์ ของพระ-
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 13/41/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 13/122/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ศอกก็ตาม ย่อมมีประมาณเท่ากันทั้งส่วนยาวทั้งส่วนกว้าง. กายหรือวาของคน
อื่นยาวไม่เท่ากัน เพราะฉะนั้นแล ท่านจึงกล่าวว่า ยาวตกฺวสฺส กาโย เป็น
อาทิ. ยาวตกฺวสฺส ตัดบทเป็น ยาวตโก อสฺส ความว่า พระวรกายของ
พระมหาบุรุษเท่ากับวาของพระมหาบุรุษเท่ากับกายของพระมหาบุรุษ.
บทว่า สมวฏฺฎกฺขนฺโธอาทิผิด อักขระ คือพระมหาบุรุษมีลำพระศอเท่ากัน. คน
บางคนมีลำคอยาว คด หนา เหมือนนกกะเรียน เหมือนนกยาง เหมือนหมู่อาทิผิด อาณัติกะ
เวลาพูด เอ็นเป็นตาข่ายย่อมปรากฏเสียงออกมาแหบฉันใด ของพระมหาบุรุษไม่
เหมือนอย่างนั้น. ก็ลำพระศอของพระมหาบุรุษเป็นเช่นกับกลองทองที่เขากลึง
ดีแล้ว ในเวลาตรัส เอ็นเป็นตาข่ายไม่ปรากฏพระสุรเสียงดังก้องดุจเสียงเมฆ
กระหึ่ม.
ในบทว่า รสคฺคสคฺคี มีวิเคราะห์ว่า เส้นประสาทนำไปซึ่งรสชื่อว่า
รสัคคสา. บทนี้เป็นชื่อของเส้นประสาทนำรสอาหารไป. เส้นประสาทนำรส
อาหารของพระมหาบุรุษนั้นเลิศ เพราะเหตุนั้น พระมหาบุรุษจึงเป็นผู้มีปลาย
เส้นประสาทสำหรับนำรสอาหารอันเลิศ. ได้ยินว่า พระมหาบุรุษมีเส้นประสาท
สำหรับนำรสอาหารประมาณ ๗๐๐๐ เส้น มีปลายขึ้นเบื้องบนแล้วรวมเข้าที่ลำ
พระศอนั่นเอง. พระกระยาหารแม้เพียงเมล็ดงาตั้งอยู่ ณ ปลายพระชิวหาย่อม
แผ่ไปทั่วพระวรกายทุกส่วน. ด้วยเหตุนั้นแล เมื่อพระมหาบุรุษทรงเริ่มตั้งความ
เพียรอันยิ่งใหญ่ ได้ยังพระวรกายให้เป็นไปอยู่ได้ ด้วยข้าวสารเมล็ดเดียวเป็นต้น
บ้าง ด้วยเพียงผักดองฟายมือหนึ่งบ้าง. แต่ของคนอื่นเพราะไม่มีอย่างนั้น รส
โอชาจึงไม่แผ่ไปทั่วกาย. เพราะเหตุนั้น ชนเหล่านั้นจึงมีโรคมาก.
บทว่า สีหหนุ มีวิเคราะห์ว่า พระหนุของพระมหาบุรุษดุจคางของ
ราชสีห์ เพราะเหตุนั้น พระมหาบุรุษจึงมีพระหนุดุจคางราชสีห์. ในบทนั้น
อธิบายว่า ราชสีห์มีคางท่อนล่างบริบูรณ์ท่อนบนไม่บริบูรณ์. แต่พระมหาบุรุษ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 2/330/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ข้อว่า สพฺเพ อุปฏฺฐานสาลายํ สนฺนิปาเตตฺวา ความว่า ไปสู่
ที่ ๆ ตนควรจะไปเองแล้ว ในที่อื่น ส่งภิกษุหนุ่มไปแทน จัดพวกภิกษุให้
ประชุมกันไม่ให้เหลือ ที่อุปัฏฐานศาลาโดยครู่เดียวเท่านั้น.
ในคำว่า ยสฺสิทานิ ภนฺเต ภควา กาลํ มญฺญติ นี้มีอธิบาย
ดังนี้ว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ! ภิกษุสงฆ์ประชุมพร้อมกันแล้ว, นี้เป็นกาล
เพื่อทรงทำธรรมกถา เพื่อประทานพระอนุศาสนีแก่ภิกษุทั้งหลาย, ขอพระองค์
ทรงทราบกาลแห่งกิจที่ควรทรงกระทำในบัดนี้เถิด.
[พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสบอกอานาปานัสสติแก่พวกภิกษุ]
ข้อว่า อถโข ภควา ฯ เป ฯ ภิกฺขู อามนฺเตสิ อยมฺปิ โข
ภิกฺขเว มีความว่า ก็แล พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นรับสั่งตักเตือนแล้ว เมื่อ
จะตรัสบอกปริยายอย่างอื่นจากอสุภกรรมฐานที่ตรัสบอกแล้วในก่อน เพื่อบรรลุ
พระอรหัตแก่ภิกษุทั้งหลาย จึงตรัสว่า อานาปานสฺสติสมาธิ เป็นต้น. บัดนี้
เพราะว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสบาลีนี้ เพื่อทรงแสดงพระกรรมฐาน ที่เป็น
คุณสงบและประณีตจริง ๆ แก่ภิกษุทั้งหลาย; ฉะนั้น ข้าพเจ้าจักทำการ
พรรณนาในพระบาลีนี้ ตามลำดับอรรถโยชนา ไม่ละทิ้งให้เสียไป.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อยมฺปิ โข ภิกฺขเว เป็นต้นนี้มีโยชนา
ดังต่อไปนี้ก่อนว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อสุภภาวนาอย่างเดียวเท่านั้น ย่อม
เป็นไปเพื่อละกิเลส หามิได้, อีกอย่างหนึ่ง อานาปานัสสติสมาธิ แม้นี้แล
อันภิกษุอบรมทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นคุณสงบประณีต เยือกเย็น อยู่เป็นสุข
และยังบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ๆ ให้อันตรธานสงบไปโดยฉับพลันอาทิผิด สระ. ก็ใน
คำว่า อานาปานสฺสติสมาธิ เป็นต้นนี้ มีอรรถวรรณนาดังต่อไปนี้.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 2/519/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๑๒. ภิกษุรู้อยู่ . . . จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว
. . . ซึ่งสุญญตสมาบัติ. . . ต้องอาบัติปาราชิก.
๑๒. ภิกษุรู้อยู่ . . . จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว
. . . ซึ่งอนิมิตตสมาบัติ . . . ต้องอาบัติปาราชิก.
๑๓. ภิกษุรู้อยู่ . . . จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว
. . . ซึ่งอัปปณิหิตสมาบัติ. . . ต้องอาบัติปาราชิก.
๑๔. ภิกษุรู้อยู่ . . . จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโรงหะอาทิผิด และข้าพเจ้าเข้าแล้ว
. . . ซึ่งวิชชา ๓ . . . ต้องอาบัติปาราชิก.
๑๕. ภิกษุรู้อยู่ . . . จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว
. . . ซึ่งสติปัฏฐาน ๔ . . . ต้องอาบัติปาราชิก.
๑๖. ภิกษุรู้อยู่ . . . จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว
. . . ซึ่งสัมมัปปธาน ๔ . . . ต้องอาบัติปาราชิก.
๑๗. ภิกษุรู้อยู่ . . . จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว
. . . ซึ่งอิทธิบาท ๔ . . . ต้องอาบัติปาราชิก.
๑๘. ภิกษุรู้อยู่ จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว. . .
ซึ่งอินทรีย์ ๕ . . .ต้องอาบัติปาราชิก.
๑๙. ภิกษุรู้อยู่ . . . จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว. . .
ซึ่งพละ ๕ . . .ต้องอาบัติปาราชิก.
๒๐. ภิกษุรู้อยู่ . . . จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว. . .
ซึ่งโพชฌงค์ ๗ . . .ต้องอาบัติปาราชิก.
๒๑. ภิกษุรู้อยู่ . . . จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว. . .
ซึ่งอริยมรรคมีองค์ ๘ . . . ต้องอาบัติปาราชิก.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 2/452/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มหาโจร ๕ จำพวก
[๒๓๐] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มหาโจร ๕ จำพวกนี้ มีปรากฏอยู่ใน
โลก มหาโจร ๕ จำพวกเป็นไฉน.
๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มหาโจรบางคนในโลกนี้ ย่อมปรารถนา
อย่างนี้ว่า เมื่อไรหนอ เราจักเป็นผู้อันบุรุษร้อยหนึ่ง หรือพันหนึ่งแวดล้อม
แล้ว ท่องเที่ยวไปในคามนิคมและราชธานีเบียดเบียนเอง ให้ผู้อื่นเบียดเบียน
ตัดเอง ให้ผู้อื่นตัด เผาผลาญเอง ให้ผู้อื่นเผาผลาญ สมัยต่อมา เขาเป็นผู้
อันบุรุษร้อยหนึ่ง หรือพันหนึ่ง แวดล้อมแล้วเที่ยวไปในคามอาทิผิด อักขระนิคมและราชธานีอาทิผิด สระ
เบียดเบียนเอง ให้ผู้อื่นเบียดเบียน ตัดเอง ให้ผู้อื่นตัด เผาผลาญเอง ให้ผู้อื่น
เผาผลาญฉันใด ดูก่อนอาทิผิด ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้เลวทรามบางรูปในธรรมวินัยนี้
ก็ฉันนั้นเหมือนกันแล ย่อมปรารถนาอย่างนี้ว่า เมื่อไรหนอ เราจึงจักเป็นผู้
อันภิกษุร้อยหนึ่ง หรือพันหนึ่งแวดล้อมแล้ว เที่ยวจาริกไปในคามนิคมและ
ราชธานี อันคฤหัสถ์และบรรพชิต สักการะ เคารพ นับถือ บูชา ยำเกรง
ได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร สมัยต่อมา เธอ
เป็นผู้อันภิกษุร้อยหนึ่ง หรือพันหนึ่งแวดล้อมแล้ว เที่ยวจาริกไปในตามนิคม
และราชธานี อันคฤหัสถ์และบรรพชิตสักการะ เคารพ นับถือ บูชา ยำเกรง
แล้ว ได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัย เภสัชบริขารทั้งหลาย
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นมหาโจรจำพวกที่ ๑ มีปรากฏอยู่ในโลก.
๒. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุผู้เลวทรามบางรูปในธรรม
วินัยนี้ เล่าเรียนธรรมวินัยอันตถาคตประกาศแล้ว ย่อมยกตนขึ้น ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย นี้เป็นมหาโจรจำพวกที่ ๒ มีปรากฏอยู่ในโลก.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 7/99/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 3/148/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ
กำหนัด และสตรีทั้งสองคน ถูก ต้อง ซึ่งกายนั้นของภิกษุ ด้วยของที่
โยนไป ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่
ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว
สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน
มีความกำหนัด และทั้งสองคน ถูก ต้อง ซึ่งกายนั้น ของภิกษุ ด้วยของ
ที่โยนไป ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่
ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว
สตรี-ของที่โยนต่อของเนื่องด้วยกาย
สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และสตรี
ถูก ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้น ของภิกษุ ด้วยของที่โยนไป ภิกษุมี
ความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติทุกกฏ
สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ
กำหนัด และสตรีทั้งสองคน ถูก ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของภิกษุ
ด้วยของที่โยนไป ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบ
ผัสสะอยู่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว
สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญอาทิผิด อักขระว่าเป็นสตรีทั้งสองคน
มีความกำหนัด และทั้งสองคน ถูก ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของ
ภิกษุ ด้วยของที่โยนไป ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย
รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว
สตรี-ของที่โยนต่อของที่โยน
สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และสตรี
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 3/308/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ
พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ และ
เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ...
...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า...
...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่สมรส...
...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด...
...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยาอาทิผิด อักขระ...
...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา...
...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาเชลย...
...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้
ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.
มาตุรักขิตามาตุจักร
พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๑
[๔๖๘] มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระ-
คุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยา
ที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้
ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส
มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ
พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วย
ความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 3/409/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า อติยาจโกสิ ได้แก่ เป็นผู้ขอจัดเหลือเกิน. มีคำอธิบายว่า
ท่านเป็นคนขอซ้ำ ๆ ซาก ๆ.
บทว่า สุสู มีความว่า คนหนุ่ม คือ ผู้สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรง
ได้แก่บุรุษที่ยังอยู่ในวัยหนุ่ม.
ศิลาดำ ท่านเรียกว่า หินลับ. ดาบอาทิผิด อักขระที่เขาลับแล้วบนหินลับนั้น
ท่านเรียกว่า สักขรโธตะ. ดาบที่ลับดีแล้วบนหินลับ มีอยู่ในมือของ
บุรุษนั้น; เพราะเหตุนั้น บุรุษนั้น จึงชื่อว่า ผู้ถือดาบซึ่งลับดีแล้ว
บนหินลับอาทิผิด อักขระ, อธิบายว่า มีมือถือดาบซึ่งขัดและลับดีแล้วบนหิน. ท่าน
วอนขอแก้วกะเรา ทำให้เราหวาดเสียว เหมือนบุรุษมีดาบในมือนั้น
ทำให้คนอื่นหวาดเสียวฉะนั้น.
ข้อว่า เสลํ มํ ยาจมาโน มีความว่า วอนขออยู่ซึ่งแก้วมณี.
ข้อว่า น ตํ ยาเจ มีความว่า ไม่ควรขอของนั้น.
ถามว่า ของสิ่งไหน ?
ตอบว่า ของที่ตนรู้ว่า เป็นที่รักของเขา.
ข้อว่า ยสฺส ปิยํ ชิคึเส มีความว่า คนพึงรู้ว่า สิ่งใดเป็นที่รัก
ของสัตว์นั้น (ไม่ควรขอของนั้น ).
ข้อว่า กิมงฺคํ ปน นนุสฺสภูตานํ มีความว่า ในคำว่า
(การอ้อนวอนขอนั้น) ไม่เป็นที่พอใจของเหล่าสัตว์ที่เป็นมนุษย์ นี้ จะพึง
กล่าวทำไมเล่า ?
[แก้อรรถศัพท์ในเรื่องนกฝูงใหญ่เป็นต้น]
หลายบทว่า สกุณสงฺฆสฺส สทฺเทน อุพฺพาฬฺโห มีความว่า
ได้ยินว่า ฝูงนกนั้น ทำเสียงระเบ็งเซ็งแซ่ติดต่อกันไปจนตลอดปฐมยาม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 3/752/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
นิสสัคคีย์ แต่นิสัยไม่ระงับ. ก็ถ้าว่าพวกเธอกล่าวว่า พวกเรายืนสักครู่
หนึ่งแล้วจักไป แล้วยืน หรือนั่ง เพราะกลัวแม่โคนม (แม่โคลูกอ่อน)
หรือเพราะกลัวสุนัขแล้วจึงเดินไป, เมื่ออรุณขึ้นในระหว่างทาง จีวร
ทั้งหลายเป็นนิสสัคคีย์ด้วย นิสัยก็ระงับด้วย. เมื่อภิกษุทั้งหลาย (เมื่อ
อาจารย์และอันเตวาสิก) เข้าไปสู่บ้านภายในสีมาด้วยใส่ใจว่า เราจักมาใน
ภายในอรุณขึ้นนั่นเทียว อรุณขึ้นในระหว่าง, จีวรทั้งหลายไม่เป็นนิสสัคคีย์
นิสัยก็ไม่ระงับ. ก็ถ้าว่าภิกษุทั้งหลายนั่งอยู่ด้วยไม่ใส่ใจว่า ราตรีจงสว่าง
หรือไม่ก็ตามที แม้เมื่ออรุณขึ้นแล้ว จีวรไม่เป็นนิสสัคคีย์ แต่นิสัยย่อม
ระงับ.
ก็ภิกษุเหล่าใดเข้าไปสู่โรงในภายนอกอุปจารสีมาด้วยทั้งที่ยังมีอุต-
สาหะว่า เราจักมาในภายในอรุณนั้นแล เพื่อประโยชน์แก่กรรม มีอุป-
สมบทกรรมเป็นต้น, อรุณตั้งขึ้นที่โรงนั้น แก่พวกเธอ, จีวรเป็นนิส-
สัคคีย์ แต่นิสัยไม่ระงับ. ภิกษุทั้งหลายเข้าไปสู่โรงนั้นนั่นแลภายในอุปจาร-
สีมา, เมื่ออรุณตั้งขึ้น จีวรไม่เป็นนิสสัคคีย์ นิสัยก็ไม่ระงับ. แต่ภิกษุ
เหล่าใด ยังมีอุตสาหะไปยังวิหารใกล้เคียง เพื่อประสงค์จะฟังธรรม
ตั้งใจว่า จักมาให้ทันภายในอรุณ, แต่อรุณขึ้นไปแก่พวกเธอในระหว่าง
ทางนั่นเอง จีวรทั้งหลายเป็นนิสสัคคีย์ แต่นิสัยยังไม่ระงับ. ถ้าพวกเธอ
นั่งอยู่ด้วยเคารพในธรรมว่า พวกเราฟังจนจบแล้วจึงจักไป พร้อมกับ
อรุณขึ้น แม้จีวรทั้งหลายก็เป็นนิสสัคคีย์ ทั้งนิสัยก็ระงับ.
พระเถระ เมื่อจะส่งภิกษุหนุ่มไปสู่ละแวกบ้าน เพื่อต้องการซักอาทิผิด อักขระ
จีวร พึงปัจจุทธรณ์จีวรของตนก่อนแล้วจึงให้ไป. แม้จีวรของภิกษุหนุ่ม
ก็พึงให้ปัจจุทธรณ์แล้วเก็บไว้. ถ้าภิกษุหนุ่มไปแม้ด้วยไม่มีสติ, พระเถระ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 13/296/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เรื่องนายจุนทกัมมารบุตร
[๑๑๗] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับ อยู่ในโภคนครตามความ
พอพระทัยแล้วตรัสกะท่านพระอานนท์ว่า มาเถิด อานนท์ เราจักไปยังปาวานคร.
ท่านพระอานนท์ทูลรับพระดำรัสของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว. ลำดับนั้น พระ
ผู้มีพระภาคเจ้า พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เสด็จถึงปาวานครแล้ว. ได้ยิน
ว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ อัมพวันของนายจุนทกัมมารบุตร ใน
เมืองปาวานั้น.
นายจุนทกัมมารบุตรได้สดับว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จถึงเมืองปาวา
ประทับอยู่ ณ อัมพวันของเราในเมืองปาวา จึงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า
ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้านั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยังนายจุนทกัมมารบุตร ผู้นั่งเรียบร้อยแล้วให้เห็นแจ้ง
ให้สมาทาน ให้อาจหาญ ให้รื่นเริงด้วยธรรมีกถา. ลำดับนั้น นายจุนทกัม-
มารบุตร อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ
ให้รื่นเริงด้วยธรรมีกถาแล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์
ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ จงทรงรับภัตของข้าพระ
องค์ เพื่อเสวยในวันพรุ่งนี้เถิด. พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงรับด้วยดุษณีภาพ.
ลำดับนั้น นายจุนทกัมมารบุตรทราบการรับของพระผู้มีพระภาคเจ้า
แล้วลุกจากอาสนะ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า กระทำประทักษิณแล้วหลีก
ไป. นายจุนทกัมมารบุตรให้ตระเตรียมของเคี้ยวของฉันอันประณีต และสูกร
มัททวะเป็นอันมากในนิเวศน์ของตน โดยล่วงราตรีนั้นไปให้กราบทูลอาทิผิด สระกาล แด่
พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแด่พระองค์ผู้เจริญได้เวลาแล้ว ภัตตาหารสำเร็จแล้ว.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 60/467/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ความเป็นพรานนี้ เราละได้แล้ว เหมือนงูลอก
คราบเก่าของตน หรือเหมือนต้นไม้อันเขียวชอุ่ม
ผลัดใบเหลืองอาทิผิด สระทิ้ง ฉะนั้น วันนี้เราละความเป็นพรานได้.
ความแห่งคาถานั้น มีอธิบายว่า งูลอกทิ้งหนังเก่าที่คร่ำคร่าฉันใด
และต้นไม้ที่ยังเขียวชอุ่มอยู่ ผลัดใบเหลือง ๆ ที่ติดอยู่แห่งใดแห่งหนึ่งทิ้งเสีย
ได้ฉันใด แม้เราก็ฉันนั้น สละเสียได้ ซึ่งความเป็นพรานในวันนี้ ทีนี้ความ
เป็นพรานนั่นนั้นเป็นอันเราละทิ้งได้แล้ว เราสละความเป็นพรานแล้วในวันนี้.
บทว่า ชหามหํ ความว่า เราละเสียแล้ว.
ครั้นท่านเปล่งอุทานนี้แล้ว ดำริว่า เราพ้นจากเครื่องพัวพันคือ
กิเลสทั้งปวงได้แน่นอน แต่ในที่อยู่ของเรายังมีนกถูกกักขังอยู่มาก เราจัก
ปลดปล่อยนกเหล่านั้นได้อย่างไร จึงถามพระมหาสัตว์ว่า พญายูงเอ๋ย
ในที่อยู่ของข้าพเจ้า มีนกถูกกักขังอยู่เป็นอันมาก ข้าพเจ้าจักปลดปล่อยนก
เหล่านั้นได้อย่างไรละ. อันที่จริง ญาณในการกำหนดอุบาย ของพระสัพพัญญู
โพธิสัตว์ทั้งหลาย ย่อมใหญ่โตกว่าพระปัจเจกพุทธเจ้า. เหตุนั้น พญายูงจึง
กล่าวกะท่านว่า ปัจเจกโพธิญาณที่ท่านทำลายกิเลสทั้งปวงเสีย แล้ว
บรรลุด้วยโพธิมรรคใด โปรดปรารภโพธิมรรคนั้น กระทำสัจจกิริยาเถิด
ธรรมดาสัตว์อันต้องจองจำในชมพูทวีปทั้งสิ้นก็จักไม่มี. ท่านดำรงในฐานะ
ที่พระโพธิสัตว์กล่าวแล้ว เมื่อจะทำสัจจกิริยา จึงกล่าวคาถาว่า
อนึ่ง มีนกเหล่าใดที่เรากักขังไว้ในนิเวศน์
ประมาณหลายร้อย วันนี้เราให้ชีวิตแก่นกเหล่านั้น
ขอนกเหล่านั้นจงพ้นจากการกักขัง ไปสู่สถานที่อยู่เดิม
ของตนเถิด.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 13/433/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า มา เหวํ อานนฺท อวจ ได้แก่ อานนท์ เธออย่าพูดอย่างนั้น.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า เธอไม่ควรพูดว่า นี่นครเล็ก ความจริง เรา
ตถาคตมาที่นครนี้ ด้วยความอุตสาหะอย่างใหญ่ ด้วยความบากบั่นอย่างใหญ่
ยืน นั่ง หลายครั้ง ก็เพื่อจะกล่าวถึงสมบัติของนครนี้โดยแท้ แล้วจึงตรัสว่า
ภูตปุพฺพํ เป็นต้น.
บทว่า สุภิกฺขา ได้แก่ สมบูรณ์ด้วยของเคี้ยวและของกิน. บทว่า
หตฺถิสทฺเทน ความว่า เมื่อช้างเชือกหนึ่งร้องขึ้น ช้าง ๘๔,๐๐๐ เชือกก็ร้อง
ตาม ดังนั้น กุสาวดีราชธานี จึงไม่สงัดจากเสียงช้าง. จากเสียงม้าก็เหมือนกัน.
ก็สัตว์ทั้งหลายในราชธานีนี้มีบุญ มีรถที่เทียมด้วยม้าสินธพ ๔ ตัว ตามกัน
และกันสัญจรไปในระหว่างถนน ฉะนั้น จึงชื่อว่าไม่สงัดด้วยเสียงรถ. อนึ่ง
ดุริยางค์ มีกลองเป็นต้น ในนครนั้นก็ย่ำกันอยู่เป็นนิตย์. ดังนั้น จึงชื่อว่าไม่
สงัดจากเสียงกลองเป็นต้น. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สมฺมสทฺโท ได้แก่
เสียงกังสดาล. บทว่า ตาลสทฺโท ได้แก่ เสียงตาลที่เคาะด้วยมือและตาลราง
สี่เหลียมอาทิผิด อักขระ. บางอาจารย์ กล่าวว่า กูฏเภริสทฺโท เสียงกลองกูฏ ดังนี้ก็มี. บทว่า
อสถ ปิวถ ขาทถ แปลว่า จงกิน จงดื่ม จงเคี้ยว. ก็ในเรื่องนี้มีความสังเขป
ดังนี้. กุสาวดีราชธานี ไม่สงัดจากเสียงที่สิบนี้ว่า เชิญบริโภคเถิด ท่านผู้
เจริญ มีเสียงไม่ขาดเลย. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงว่า ในนครอื่น ๆ มี
เสียงเห็นปานนี้ว่า พวกเจ้าจงทิ้งหยากเยื่อ จงถือจอบ จงถือกระเช้า เราจัก
ไปแรมคืน พวกเจ้าจงถือห่อข้าวสาร จงถือห่อข้าวสุก จงให้จัดโล่และอาวุธ
ดังนี้ฉันใด ในกุสาวดีนี้หามีเสียงเห็นปานนี้ฉันนั้นไม่. ก็แลครั้นตรัสว่าจาก
เสียงที่สิบ ดังนี้แล้ว ทรงจบมหาสุทัสสนสูตรทั้งหมดว่า ดูก่อนอานนท์
กุสาวดีราชธานีล้อมรอบด้วยกำแพง ๗ ชั้นแล้ว จึงตรัสว่า คจฺฉ ตฺวํ อานนฺท
ดังนี้เป็นต้น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 58/362/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ดูก่อนท่านผู้มีอายุ เราประกอบด้วยฌานอยู่.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มยฺหํ เป็นจตุตถีวิบัติใช้ใน
อรรถของตติยาวิภัติ. บทว่า วิสุทฺธิ ได้แก่ ความหมดจดด้วยฌาน
บทว่า พหุสฺสุตสฺส ได้แก่ ชื่อว่าผู้เป็นพหูสูตร เพราะได้ฟังและ
เพราะได้รู้แจ้งกสิณบริกรรมและสมาบัติ ๘. บทว่า ตุวํ นี้
ลิงเมื่อจะเรียกดาบสรูปหนึ่งในบรรดาดาบสเหล่านั้น จึงแสดงว่า บัดนี้
ท่านอย่าได้จำหมายข้าพเจ้า เหมือนเมื่อก่อน ข้าพเจ้าไม่เป็นเหมือน
เมื่อกาลก่อน ข้าพเจ้าได้อาจารย์แล้ว.
ดาบสได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า
เจ้าลิงอาทิผิด สระเอ๋ย ถ้าแม้บุคคลจะพึงหว่าน
พืชลงบนแผ่นหิน ถึงฝนจะตกลงมา พืชนั้น
ก็งอกงามขึ้นไม่ได้แน่ ความหมดจดด้วย
ฌานชั้นสูงนั้น ถึงเจ้าจะได้ฟังมา เจ้าก็ยัง
เป็นผู้ไกลจากภูมิฌานมากนัก.
ความของคาถานั้นว่า ถ้าแม้บุคคลจะพึงหว่านพืช ๕ ชนิด
ลงบนหลังแผ่นหิน และฝนจะตกลงมาอย่างสม่ำเสมอ พืชนั้นจะ
งอกขึ้นไม่ได้. เพราะแผ่นหินนั้นไม่ใช่เนื้อนา ความหมดจดแห่ง
ฌานชั้นสูงที่เจ้าได้ฟังมา ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ดูก่อนเจ้าลิง ก็เพราะ
เจ้าเกิดในกำเนิดดิรัจฉาน เจ้าจึงยังห่างไกลจากภูมิฌานนัก คือเจ้า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/183/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ก็บุคคลไม่ถือเอาอย่างนี้ ก็จะกล่าวว่า กิเลสทั้งหลายมีราคะเป็นต้น
อาศัยพระนิพพานแล้วก็สิ้นไป เพราะฉะนั้น พระนิพพานจึงมีอย่างเดียวเท่านั้น
คือความสิ้นราคะ ความสิ้นโทสะ ความสิ้นโมหะ ดังนี้ เพราะความสิ้นอกุศล
มูลแม้ทั้ง ๓ นี้ก็เป็นชื่อของพระนิพพานเท่านั้น ขอท่านจงถืออย่างนี้ ก็ถ้าว่า
ชนเหล่าอื่นแม้กล่าวอย่างนี้แล้ว อาจารย์วิตัณฑวาทีก็ยังกำหนดไม่ได้ ก็พึงทำ
การอธิบายพระนิพพานโดยเปรียบกับของหยาบ ๆ อธิบายอย่างไร คือว่า
สัตว์ผู้โง่เขลาแม้มี เสือเหลือง เนื้อ และลิงเป็นต้น ถูกกิเลสกลุ้มรุมอาทิผิด อาณัติกะแล้ว
ย่อมเสพวัตถุ (เมถุน) เมื่อถึงที่สุดแห่งการเสพของสัตว์เหล่านั้น กิเลสทั้งหลาย
ก็สงบ ในวาทะของท่าน พวกสัตว์มีหมี เสือเหลือง เนื้อ และลิงเป็นต้น
ก็ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพระนิพพานแล้ว นิพพานของท่านหยาบหนอ เป็นของหยาบ-
ช้า ใคร ๆ ไม่อาจเพื่อประดับแม้ที่หูได้.
อนึ่ง อาจารย์วิตัณฑวาทีไม่ยอมรับเช่นนี้ ก็ต้องกล่าวว่า กิเลสทั้งหลาย
มีราคะเป็นต้นสิ้นไปเพราะอาศัยพระนิพพาน เพราะฉะนั้น พระนิพพานจึงมี
อย่างเดียวเท่านั้น คือ ความสิ้นราคะ ความสิ้นโทสะ ความสิ้นโมหะ เพราะ
ว่า ความสิ้นอกุศลมูลเหล่านี้ แม้ทั้ง ๓ เป็นชื่อของพระนิพพานท่านนั้น ท่าน
จงถือเอาด้วยอาการอย่างนี้.
ก็ถ้าว่า กล่าวแล้วอย่างนี้แล้ว อาจารย์วิตัณฑวาทีนั้นยังกำหนด ไม่ได้
ก็ควรอธิบาย แม้ด้วยโคตรภูอาทิผิด อักขระ อธิบายอย่างไร ? คือว่า พึงถามอาจารย์วิตัณ-
ฑวาทีอย่างนี้ก่อนว่า ท่านกล่าวว่า ชื่อว่า โคตรภูมีอยู่หรือ อาจารย์วิตัณฑวาที
ก็จะตอบว่า ใช่ผมย่อมกล่าวดังนี้ แล้วจึงกล่าวกะอาจารย์วิตัณฑวาทีว่า ใน
ขณะแห่งโคตรภู กิเลสทั้งหลายสิ้นไปแล้ว หรือกำลังสิ้น หรือจักสิ้น ดังนี้.
พระปิฎกธรรม