Ling
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 58/362/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ดูก่อนท่านผู้มีอายุ เราประกอบด้วยฌานอยู่.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มยฺหํ เป็นจตุตถีวิบัติใช้ใน
อรรถของตติยาวิภัติ. บทว่า วิสุทฺธิ ได้แก่ ความหมดจดด้วยฌาน
บทว่า พหุสฺสุตสฺส ได้แก่ ชื่อว่าผู้เป็นพหูสูตร เพราะได้ฟังและ
เพราะได้รู้แจ้งกสิณบริกรรมและสมาบัติ ๘. บทว่า ตุวํ นี้
ลิงเมื่อจะเรียกดาบสรูปหนึ่งในบรรดาดาบสเหล่านั้น จึงแสดงว่า บัดนี้
ท่านอย่าได้จำหมายข้าพเจ้า เหมือนเมื่อก่อน ข้าพเจ้าไม่เป็นเหมือน
เมื่อกาลก่อน ข้าพเจ้าได้อาจารย์แล้ว.
ดาบสได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า
เจ้าลิงอาทิผิด สระเอ๋ย ถ้าแม้บุคคลจะพึงหว่าน
พืชลงบนแผ่นหิน ถึงฝนจะตกลงมา พืชนั้น
ก็งอกงามขึ้นไม่ได้แน่ ความหมดจดด้วย
ฌานชั้นสูงนั้น ถึงเจ้าจะได้ฟังมา เจ้าก็ยัง
เป็นผู้ไกลจากภูมิฌานมากนัก.
ความของคาถานั้นว่า ถ้าแม้บุคคลจะพึงหว่านพืช ๕ ชนิด
ลงบนหลังแผ่นหิน และฝนจะตกลงมาอย่างสม่ำเสมอ พืชนั้นจะ
งอกขึ้นไม่ได้. เพราะแผ่นหินนั้นไม่ใช่เนื้อนา ความหมดจดแห่ง
ฌานชั้นสูงที่เจ้าได้ฟังมา ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ดูก่อนเจ้าลิง ก็เพราะ
เจ้าเกิดในกำเนิดดิรัจฉาน เจ้าจึงยังห่างไกลจากภูมิฌานนัก คือเจ้า
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论