星期二, 十二月 10, 2019

Dap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์   3/409/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า อติยาจโกสิ ได้แก่ เป็นผู้ขอจัดเหลือเกิน. มีคำอธิบายว่า
ท่านเป็นคนขอซ้ำ ๆ ซาก ๆ.
บทว่า สุสู มีความว่า คนหนุ่ม คือ ผู้สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรง
ได้แก่บุรุษที่ยังอยู่ในวัยหนุ่ม.
ศิลาดำ ท่านเรียกว่า หินลับ. ดาบอาทิผิด อักขระที่เขาลับแล้วบนหินลับนั้น
ท่านเรียกว่า สักขรโธตะ. ดาบที่ลับดีแล้วบนหินลับ มีอยู่ในมือของ
บุรุษนั้น; เพราะเหตุนั้น บุรุษนั้น จึงชื่อว่า ผู้ถือดาบซึ่งลับดีแล้ว
บนหินลับอาทิผิด อักขระ, อธิบายว่า มีมือถือดาบซึ่งขัดและลับดีแล้วบนหิน. ท่าน
วอนขอแก้วกะเรา ทำให้เราหวาดเสียว เหมือนบุรุษมีดาบในมือนั้น
ทำให้คนอื่นหวาดเสียวฉะนั้น.
ข้อว่า เสลํ มํ ยาจมาโน มีความว่า วอนขออยู่ซึ่งแก้วมณี.
ข้อว่า น ตํ ยาเจ มีความว่า ไม่ควรขอของนั้น.
ถามว่า ของสิ่งไหน ?
ตอบว่า ของที่ตนรู้ว่า เป็นที่รักของเขา.
ข้อว่า ยสฺส ปิยํ ชิคึเส มีความว่า คนพึงรู้ว่า สิ่งใดเป็นที่รัก
ของสัตว์นั้น (ไม่ควรขอของนั้น ).
ข้อว่า กิมงฺคํ ปน นนุสฺสภูตานํ มีความว่า ในคำว่า
(การอ้อนวอนขอนั้น) ไม่เป็นที่พอใจของเหล่าสัตว์ที่เป็นมนุษย์ นี้ จะพึง
กล่าวทำไมเล่า ?
[แก้อรรถศัพท์ในเรื่องนกฝูงใหญ่เป็นต้น]
หลายบทว่า สกุณสงฺฆสฺส สทฺเทน อุพฺพาฬฺโห มีความว่า
ได้ยินว่า ฝูงนกนั้น ทำเสียงระเบ็งเซ็งแซ่ติดต่อกันไปจนตลอดปฐมยาม
พระปิฎกธรรม

没有评论: