Lang
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/571/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อำนาจแห่งจรณะนั้นนั่นแหละ จึงตรัสพระดำรัสว่า ภิกษุย่อมเข้าถึงฌาน
ที่ ๑ อยู่ แม้ข้อนี้ก็เป็นจรณะของภิกษุนั้น ฯ ล ฯ ภิกษุย่อมเข้าถึงฌาน
ที่ ๔ อยู่ แม้ข้อนี้ก็เป็นจรณะของภิกษุนั้น เป็นต้น. ด้วยพระดำรัสเพียง
เท่านี้เป็นอันว่าพระองค์ตรัสระบุชัดถึงสมาบัติแม้ทั้ง ๘ ว่าเป็นจรณะ ส่วน
ปัญญาแม้ทั้ง ๘ นับแต่วิปัสสนาญาณไป พระองค์ตรัสระบุชัดว่า เป็นวิชชา.
บทว่า อปายมุขานิ แปลว่า ปากทางแห่งความพินาศ บทว่า
ผู้ยังไม่ตรัสรู้ คือยังไม่บรรลุ หรือว่า ยังไม่สามารถ. ในบทว่า ถือเอา
เครื่องหาบดาบสบริขารอาทิผิด อักขระ นี้ บริขารของดาบสอาทิผิด อักขระมี ไม้สีไฟ เต้าน้ำ เข็ม และ
แส้หางจามรี เป็นต้น ชื่อว่าขารี. บทว่า วิโธ แปลว่า หาบ. เพราะ
ฉะนั้นจึงมีใจความว่า ถือเอาหาบอันเต็มด้วยบริขารดาบส. แต่อาจารย์ที่
กล่าวว่า ขาริวิวิธํ ท่านก็พรรณนาว่า คำว่า ขาริ เป็นชื่อของหาบ คำว่า
วิวิธํ คือบริขารมากอย่างมีเต้าน้ำ เป็นต้น. บทว่า ปวตฺตผลโภชโน
แปลว่า มีปรกติบริโภคผลไม้ที่หล่นแล้ว. บทว่า เป็นคนรับใช้ คือเป็น
คนรับใช้ด้วยสามารถกระทำวัตร เช่น ทำกัปปิยะอาทิผิด สระ รับบาตรและล้างอาทิผิด อาณัติกะเท้า เป็น
ต้น. สามเณรผู้เป็นพระขีณาสพ แม้มีคุณธรรมสูง ย่อมเป็นผู้รับใช้พระ
ภิกษุผู้ปุถุชน โดยนัยที่กล่าวแล้วโดยแท้ แต่สมณะหรือพราหมณ์หาเป็น
เช่นนั้นไม่ ยังเป็นผู้ต่ำอยู่ทีเดียว ด้วยอำนาจแห่งคุณธรรมบ้าง ด้วย
อำนาจแห่งการกระทำการรับใช้บ้าง.
ถามว่า ก็การบวชเป็นดาบส ท่านกล่าวว่า เป็นปากทางแห่งความ
พินาศของศาสนา เพราะเหตุไร. ตอบว่า เพราะศาสนาที่กำลังดำเนิน
ไป ๆ ย่อมถอยหลัง ด้วยอำนาจแห่งการบรรพชาเป็นดาบส. เป็นความจริง
ผู้ที่มีความละอาย ใคร่ในการศึกษา มักรังเกียจผู้ที่บวชในศาสนานี้ แล้ว
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论