星期一, 一月 14, 2019

Songkhram

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 51/276/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ทั้งหลาย โดยการสรรเสริญอธิวาสนขันติ วิริยารัมภะ และความยินดีในวิเวก
ของตนเป็นสำคัญ จึงได้ภาษิตคาถา ๒ คาถาไว้ว่า
ภิกษุถูกเหลือบและยุงในป่าใหญ่กัด ควรเป็นผู้
มีสติอดกลั้นในอันตรายเหล่านั้น เหมือนช้างใน
สงครามอาทิผิด อักขระ ภิกษุอยู่รูปเดียว ย่อมเป็นเหมือนพรหม อยู่
๒ รูป เหมือนเทวดา อยู่ ๓ รูป เหมือนชาวบ้าน อยู่
ด้วยกันมากกว่านั้น ย่อมมีความโกลาหลมากขึ้น
เพราะฉะนั้น ภิกษุควรเป็นผู้อยู่แต่รูปเดียว.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า นาโค สงฺคามสีเสว ความว่า อุปมา
เสมือนหนึ่งว่า ช้างตัวประเสริฐอาชาไนย สู้ทนเครื่องประหัตประหาร มีดาบ
หอกแทงและหอกซัดเป็นต้นในสนามรบแล้ว กำจัดแสนยานุภาพฝ่ายข้าศึก
(ปรเสนา) ได้ ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้น ควรมีสติสัมปชัญญะ อดทนอันตราย
มีเหลือบเป็นต้นในป่าใหญ่ คือพงไพรไว้ และครั้นทนได้แล้ว ก็จะพึงกำจัด
มารและพลมารได้ ด้วยกำลังแห่งภาวนา.
บทว่า ยถา พฺรหฺมา ความว่า พระพรหมโดดเดี่ยวเดียวดาย เว้นจาก
ผู้กวนใจ อยู่สำราญด้วยฌานสุขเนืองนิจทีเดียว ฉันใด. บทว่า ตถา เอโก
ความว่า แม้ภิกษุอยู่รูปเดียว ไม่มีเพื่อนก็เช่นนั้นเหมือนกัน จะเพิ่มพูนความสุข
เกิดแต่วิเวกอยู่อย่างสำราญ. จริงดังที่กล่าวไว้ว่า ความสุขธรรมดาสามัญของ
คน ๆ เดียว เป็นความสุขที่ประณีต. ด้วยคำว่า ยถา พฺรหฺมา ตถา เอโก นี้
พระเถระชื่อว่าให้โอวาทว่า ภิกษุผู้อยู่รูปเดียวเป็นปกติ เป็นผู้เสมอเหมือน
พระพรหม.
บทว่า ยถา เทโว ตถา ทุเว ความว่า เทวดาทั้งหลายก็คงมีความ
วุ่นวายใจเป็นระยะ ๆ ฉันใด แม้การกระทบกระทั่งกัน เพราะการอยู่ร่วมกัน
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: