turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 82/951/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สมุทยสัจจมูล
สมุทยสัจจมูละ มัคคสัจจมูลี :-
[๙๓๒] สมุทยสัจจะจักดับแก่บุคคลใด มัคคสัจจะก็จักดับแก่
บุคคลนั้น ใช่ไหม ?
ปุถุชนเหล่าใดจักไม่ได้มรรค สมุทยสัจจะจักดับแก่บุคคลเหล่า
นั้น แต่มัคคสัจจะไม่ใช่จักดับอาทิผิด อักขระแก่บุคคลเหล่านั้น, บุคคลเหล่าใดจักได้
มรรค สมุทยสัจจะจักดับ และมัคคสัจจะก็จักดับแก่อาทิผิด สระบุคคลเหล่านั้น
ก็หรือว่า มัคคสัจจะจักดับแก่บุคคลใด, สมุทยสัจจะก็จักดับ
แก่บุคคลนั้น ใช่ไหม ?
ในอุปปาทขณะแห่งอรหัตมัคคจิตก็ดี บุคคลเหล่าใดจักได้อรหัต-
มรรคในลำดับแห่งจิตใดก็ดี มัคคสัจจะจักดับแก่บุคคลเหล่านั้น แต่
สมุทยสัจจะไม่ใช่ดับแก่บุคคลเหล่านั้น, บุคคลเหล่าใดจักได้มรรค มัคค-
มัคคสัจจะจักดับ และสมุทยสัจจะก็จักดับแก่บุคคลเหล่านั้น.
จบ สมุทยสัจจมูละ มัคคสัจจมูลี
สมุทยสัจจมูล จบ
ปุคคลวาระ จบ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 66/657/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มีกำลัง. บทว่า ทฬฺหปรกฺกมสฺสอาทิผิด สระ คือ มีความเพียรมั่น. บทว่า ยสฺสตฺตา
เปสิโต ตนอันภิกษุส่งไปแล้ว คือสละอัตภาพเพื่อพระอรหัต. บทว่า
อตฺตตฺเถ จ คือ ในอรหัตผลอันเป็นประโยชน์ของตน. บทว่า ญาเย จ
คือ ในมรรคมีองค์ ๘ อัน เป็นอริยะ. บทว่า ลกฺขเณ จ คือ ในการ
แทงตลอดลักษณะมีอนิจจลักษณะเป็นต้น. บทว่า การเณ จ คือ ใน
เหตุ. บทว่า ฐานาฐาเน จ คือ ในฐานะและอฐานะ อธิบายว่า ในเหตุ
และมิใช่เหตุ. บัดนี้พระสารีบุตรเพื่อแสดงให้พิสดาร จึงกล่าวคำมีอาทิว่า
สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา ดังนี้.
พึงทราบวินิจฉัยใน คาถาที่ ๘ ดังต่อไปนี้. บทว่า เอโกทิ นิปโก
เป็นผู้มีสมาธิเป็นธรรมเอกผุดขึ้น คือเป็นบัณฑิตมีจิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง.
บทว่า ชาตรูปสฺส โอฬาริกมฺปิ มลํ ธมติ ช่างทองกำจัดมลทินแม้อย่าง
หยาบของทอง คือนำมลทินหยาบของทองออกด้วยใช้ไฟ. บทว่า สนฺธมติ
คือ นำออกโดยชอบ. บทว่า นิทฺธมติ กำจัด คือนำออกไป ทำไม่ให้
เกิดอีก. อาจารย์บางพวกกล่าวว่า ณาเปติ คือ เผา. บทว่า มชฺณิมกมฺปิ
อย่างกลางบ้าง คือละเอียดกว่านั้นบ้าง. บทว่า สุขุมกมฺปิ ละเอียดบ้าง
คือละเอียดยิ่งบ้าง. บทว่า เอวเมว เป็นบทแสดงเปรียบเทียบ. บทว่า
อตฺตโน โอฬาริเกปิ กิเลเส ธมติ กำจัดกิเลสอย่างหยาบของตน คือ
นำกิเลสหยาบมีกายทุจริตเป็นต้นออกไปด้วยความเพียรเผากิเลส. บทว่า
มชฺฌิมเกปิ กิเลเส กำจัดกิเลสอย่างกลาง คือกิเลสอย่างกลางระหว่าง
กิเลสอย่างหยาบและอย่างละเอียด มีกามวิตกเป็นต้น. บทว่า สุขุมเกปิ
กิเลสอย่างละเอียด คือกิเลสอย่างละเอียดยิ่งมีวิตกถึงญาติเป็นต้น. บทว่า
สมฺมาทิฏฺฐิยา มิจฺฉาทิฏฺฐิํ ธมติ กำจัดมิจฉาทิฏฐิ ด้วยสัมมาทิฏฐิ คือ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 1/111/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เรื่องส่งพระเถระไปประกาศพระศาสนาในต่างประเทศ
ในการนำพระศาสนาสืบมาตามลำดับอาจารย์นั้น มีอนุปุพพิกถา
ดังต่อไปนี้ : -
ได้ยินว่า พระโมคคัลลีบุตรอาทิผิด ติสสเถระ ครั้นทำตติยสังคีตินั้นแล้ว ได้
ดำริอย่างนี้ว่า ในอนาคต พระศาสนา จะพึงตั้งมั่นอยู่ด้วยดีในประเทศไหน
หนอแล ? ลำดับนั้น เมื่อท่านใคร่ครวญอยู่ จึงได้มีความคิดดังนี้ว่า พระศาสนา
จักตั้งมั่นอยู่ด้วยดี ในปัจจันติมชนบททั้งหลาย. ท่านจึงมอบศาสนกิจนั้น ให้
เป็นภาระของภิกษุเหล่านั้น แล้วส่งภิกษุเหล่านั้น ๆ ไปในรัฐนั้น ๆ คือ ส่ง
พระมัชฌันติเถระไปยังรัฐกัสมีรคันธาระด้วยสั่งว่า ท่านไปยังรัฐนั่นแล้ว จง
ประดิษฐานพระศาสนาในรัฐนั่น. ท่านได้สั่งพระมหาเทวเถระอย่างนั้นเหมือน
กัน แล้วส่งไปยังมหิสกมณฑล ส่งพระรักขิตเถระไปยังวนวาสีชนบท ส่ง
พระโยนกธรรมรักขิตเถระไปยังอปรันตกชนบท ส่งพระมหาธรรมรักขิตเถระ
ไปยังมหารัฐชนบท ส่งพระมหารักขิตเถระไปยังโลกเป็นที่อยู่ของชาวโยนก
ส่งพระมัชฌิมเถระไปยังชนบทอันเป็นส่วนหนึ่งแห่งหิมวันตอาทิผิด อักขระประเทศ ส่งพระ-
โสณกเถระ ๑ พระอุตตรเถระ ๑ ไปยังสุวรรณอาทิผิด ภูมิชนบท ส่งพระมหินทเถระ
ผู้เป็นสัทธิวิหาริกของตน กับพระอิฏฏิยเถระ พระอุตติยเถระ พระสัมพลเถระ
พระภัททสาลเถระ ไปยังเกาะตัมพปัณณิทวีป ด้วยสั่งว่า พวกท่านไปยังเกาะ
ตัมพปัณณิทวีปแล้วจงประดิษฐานพระอาทิผิด อักขระศาสนาในเกาะนั่น. พระเถระแม้ทั้งหมด
เมื่อจะไปยังทิสาภาคนั้น ๆ ก็เข้าใจอยู่ว่า ในปัจจันติมอาทิผิด ชนบททั้งหลายต้องมี
คณะปัญจวรรค จึงสมควรทำอุปสมบทกรรมได้ ดังนี้ จึงไปกันอาทิผิด อักขระพวกละ ๕
รวมกับตน.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 10/296/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เกิดแต่กายกับวาจา มิใช่จิต บางทีเกิดแต่กายกับจิต มิใช่วาจา บางทีเกิดแต่
กาย วาจา และจิต.
สมุฏฐานวาร ที่ ๕ จบ
อธิกรณวารที่ ๖
[๗๘๓] ถามว่า อาบัติของภิกษุณีผู้กำหนัด ยินดีการเคล้าคลึงด้วย
กายของบุรุษบุคคลผู้กำหนัด จัดเป็นอธิกรณ์อะไร บรรดาอธิกรณ์ ๔
ตอบว่า อาบัติของภิกษุณีผู้กำหนัด ยินดีการเคล้าคลึงด้วยกาย ของ
บุรุษบุคคลผู้กำหนัด จัดเป็นอาปัตตาธิกรณ์ บรรดาอธิกรณ์ ๔ . . .
[๗๘๔] ถามว่า อาบัติของภิกษุณีผู้ขอนมส้มมาฉัน จัดเป็นอธิกรณ์
อะไร บรรดาอธิกรณ์อาทิผิด อักขระ ๔
ตอบว่า อาบัติของภิกษุณีผู้ขอนมส้มมาฉัน จัดเป็นอาปัตตาธิกรณ์
บรรดาอธิกรณ์ ๔.
อธิกรณวาร ที่ ๖ จบ
สมถวาร ที่ ๗
[๗๘๕] ถามว่า อาบัติของภิกษุณีผู้กำหนัด ยินดีการเคล้าคลึงด้วย
กายของบุรุษบุคคลผู้กำหนัด ย่อมระงับด้วยสมถะเท่าไร บรรดาสมถะ ๗
ตอบว่า อาบัติของภิกษุณีผู้กำหนัด ยินดีการเคล้าคลึงด้วยกาย ของ
บุรุษบุคคลผู้กำหนัด ย่อมระงับด้วยสมถะ ๓ บรรดาสมถะ ๗ คือ บางทีด้วย
สัมมุขาวินัย ๑ ด้วยปฏิญญาตกรณะ ๑ บางทีด้วยสัมมุขาวินัยกับติณวัตถารกะ ๑.
[๗๘๖] ถามว่า อาบัติของภิกษุณีผู้ขอนมส้มมาฉัน ย่อมระงับด้วย
สมถะเท่าไร บรรดาสมถะ ๗
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 59/958/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า สุหทยํ มมํ ความว่า และทรงทราบราชเสวกคนใด
ว่า ราชเสวกผู้นี้มีความจงรักภักดีต่อเรา. บทว่า ราชูสุ เว ความว่า
เมื่อเป็นเช่นนั้น บัณฑิตทั้งหลายย่อมกล่าวคุณความดีของอาทิผิด อาณัติกะราชเสวกนั้น ๆ
ที่มีอยู่ในพระราชาทั้งหลาย ว่าเป็นความสวัสดิมงคลโดยแท้ บทว่า
ททาติ สทฺโธ คือเชื่อกรรมและผลแห่งกรรมแล้วให้. บทว่า สคฺเคสุ
เว ความว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น บัณฑิตทั้งหลายย่อมกล่าวคุณข้อนั้น
ของผู้นั้นว่า เป็นสวัสดิมงคล คือเป็นมงคลที่ปราศจากโทษในสวรรค์
คือในเทวโลก บัณฑิตพึงกล่าวอ้างข้อนั้นด้วยเรื่องเปรตและเรื่องวิมาน
เปรตให้พิสดาร. บทว่า ปุนนฺติ วทฺธา ความว่า สัตบุรุษทั้งหลาย
ผู้รู้แจ้งด้วยญาณ ยังบุคคลใดให้บริสุทธิ์ คือให้หมดจดด้วยอริยธรรม
บทว่า สมจริยาย ได้แก่ ในสัมมาปฏิบัติ บทว่า พหุสฺสุตา
ได้แก่ ผู้สดับมากเพื่อปฏิเวธ. บทว่า อิสโย ได้แก่ ผู้แสวงหาคุณ.
บทว่า สีลวนฺโต ได้แก่ ผู้ประกอบด้วยอริยศีล. บทว่า อรหนฺตมชฺเฌ
ความว่า บัณฑิตทั้งหลายย่อมยกย่องความดีของสัตบุรุษนั้นว่า เป็น
สวัสดิมงคล อันจะพึงได้ในท่ามกลางพระอรหันต์ จริงอยู่พระอรหันต์
ทั้งหลาย เมื่อบอกมรรคที่ตนได้แล้วให้ผู้อื่นปฏิบัติ ย่อมยังบุคคลผู้ยินดี
ให้บริสุทธิ์ด้วยอริยธรรม แม้ผู้นั้นก็เป็นพระอรหันต์เทียว.
พระมหาสัตว์ถือเอายอดแห่งเทศนาด้วยพระอรหัต แสดงมงคล
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 13/327/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มัลลปาโมกข์ ๘
[๑๕๓] สมัยนั้น มัลลปาโมกข์ ๘ องค์ สระสรงเกล้าแล้วทรงนุ่งผ้า
ใหม่ด้วยทรงดำริว่า เราจักยกพระสรีระพระผู้มีพระภาคเจ้า ย่อมไม่อาจจะยก
ขึ้นได้. พวกเจ้ามัลละเมืองกุสินราได้ถามท่านพระอนุรุทธะว่า ท่านอนุรุทธะ
อะไรหนอเป็นเหตุ อะไรหนอเป็นปัจจัย มัลลปาโมกข์ ๘ องค์นี้ ผู้สระสรง
เกล้าแล้ว ทรงนุ่งผ้าใหม่ด้วยดำริว่า เราจักยกพระสรีระของพระผู้มีพระภาคเจ้าอาทิผิด สระ
ย่อมไม่อาจยกขึ้นได้. พระอนุรุทธะกล่าวว่า ดูก่อนวาสิฏฐะทั้งหลาย พวกท่าน
มีความประสงค์อย่างหนึ่ง พวกเทวดามีความประสงค์อย่างหนึ่ง. เจ้ามัลละถามอาทิผิด อักขระ
ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ พวกเทวดามีความประสงค์อย่างไร.
พระอนุรุทธะกล่าวว่า ดูก่อนวาสิฏฐะทั้งหลาย พวกท่านมีความประสงค์
ว่า เราสักการะ เคารพ นับถือ บูชาพระสรีระพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยการ
ฟ้อนรำ ขับร้อง ประโคม ดอกไม้ ของหอม จักเชิญไปทางทิศทักษิณแห่งพระ
นคร แล้วเชิญไปภายนอกพระนคร ถวายพระเพลิงพระสรีระของพระผู้มีพระ
ภาคเจ้า ทางทิศทักษิณอาทิผิด อักขระแห่งพระนคร เทวดามีความประสงค์ว่า เราสักการะ
เคารพ นับถือ บูชาพระสรีระของพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยการฟ้อนรำ ขับร้อง
ประโคม ดอกไม้ ของหอม อันเป็นทิพย์จักเชิญไปทางทิศอุดรแห่งพระนคร
แล้วเข้าสู่พระนครโดยทวารทิศอุดร เชิญไปท่ามกลางพระนคร แล้วออกโดย
ทวารทิศบูรพา แล้วถวายพระเพลิงพระสรีระของพระผู้มีพระภาคเจ้า ที่มกุฏ-
พันธนเจดีย์ของพวกเจ้ามัลละ ทางทิศบูรพาแห่งพระนคร. เจ้ามัลละกล่าวว่า
ขอให้เป็นไปตามความประสงค์ของพวกเทวดาเถิด.
สมัยนั้น เมืองกุสินาราดารดาษไปด้วยดอกมณฑารพ โดยถ่องแถวประมาณ
แค่เข่า จนตลอดที่ต่อแห่งเรือนบ่อของโสโครกและกองหยากเยื่อ ครั้งนั้น
พวกเทวดาและพวกเจ้ามัลละเมืองกุสินารา สักการะ เคารพ นับถือ บูชาพระ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/134/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ประโยคมีอาทิว่า มหนฺตํ สปฺปราชวณฺณํ อภินิมฺมินิตฺวา เนรมิตทรวด
ทรงเป็นพญางูตัวใหญ่.
ชาติ เรียกว่า วณฺณ เช่นในประโยคมีอาทิว่า พฺราหฺมณาว เสฏฺโฐ
วณฺโณ หีโน อญฺโญ วณฺโณ พวกพราหมณ์เท่านั้น มีชาติประเสริฐ
ชาติอื่นเลว.
รูปายตนะ เรียกว่า วณฺณ เช่นในประโยคมีอาทิว่า ปรมาย
วณฺณโปกฺขรตาย สมนฺนาคตา ประกอบด้วยความงามแห่งรูปายตนะ
อย่างยิ่ง.
เหตุ เรียกว่า วณฺณ เช่นในคาถามีอาทิว่า
น หรามิ น ภญฺชามิ อารา สิํฆามิ วาริชํอาทิผิด สระ
อถ เกน นุ วณฺเณน คนฺธตฺเถโนติ วุจฺจติ
ข้าพเจ้ามิได้ขโมย ข้าพเจ้ามิได้หัก ข้าพเจ้า
ดมห่าง ๆ ซึ่งดอกบัว อาทิผิด อักขระเมื่อ เป็นเช่นนี้ เหตุไรเล่า
ท่านจึงกล่าวว่าขโมยกลิ่น.
ประมาณ เรียกว่า วณฺณ เช่นในประโยคมีอาทิว่า ตโย ปตฺตสฺส
วณฺณา บาตร ๓ ขนาด.
คุณ เรียกว่า วณฺณ เช่นในประโยคมีอาทิว่า กทา สํญุฬฺหา
ปน เต คหปติ อิเม สมณสฺส โคตมสฺสอาทิผิด อักขระ วณฺณา ดูก่อนคหบดี
ท่านประมวลคุณของพระสมณโคดมเหล่านี้ ไว้แต่เมื่อไร.
สรรเสริญ เรียกว่า วณฺณ เช่นในประโยคมีอาทิว่า วณฺณารหสฺส
วณฺณํ ภาสติ กล่าวสรรเสริญผู้ที่ควรสรรเสริญ.
ในพระบาลีนี้ วณฺณ หมายถึง ทั้งคุณ ทั้งสรรเสริญ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 25/354/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ลำดับนั้น ภิกษุนั้นเป็นผู้อันเทวดานั้นเตือนให้สังเวช ถึงซึ่งความ
สลดใจแล้วแล.
วนสังยุตตวรรณนา
อรรถกถาวิเวกสูตร
พึงทราบวินิจฉัยในวิเวกสูตรที่ ๑ แห่งวนสังยุตต่อไปนี้ :-
บทว่า โกสเลสุ วิหรติ ความว่า ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง เรียน
กัมมัฏฐานในสำนักของพระศาสดาแล้วไปอยู่ในแคว้นโกศลนั้น เพราะชนบท
นั้นหาภิกษาได้ง่าย. บทว่า สํเวเชตุกามา ได้แก่ ใคร่เพื่อจะให้ภิกษุนั้น
ถึงวิเวก. บทว่า วิเวกกาโม คือ ปรารถนาวิเวก ๓. บทว่า นิจฺฉรติ
พหิทฺธา คือ เที่ยวไปในอารมณ์เป็นอันมากที่เป็นภายนอก. บทว่า ชโน
ชนสฺมิํ ความว่า ท่านจงละฉันทราคะในคนอื่น. บทว่า ปชหาสิ แปลว่า
จงละ. บทว่า ภวาสิ แปลว่า จงเป็น. บทว่า สตํ ตํ สารยามเส ความว่า
แม้เราย่อมยังบัณฑิตอาทิผิด สระผู้มีสติให้ระลึกถึงธรรมนั้น หรือว่า เราย่อมยังผู้นั้นให้ระลึก
ถึงธรรมของสัตบุรุษ. บทว่า ปาตาลรโช ความว่า ธุลีคือกิเลสที่เรียกว่า
บาดาลเพราะอรรถว่า ไม่มีที่ตั้ง. บทว่า มา ตํ กามรโช ความว่า ธุลี
คือกามราคะนี้อย่าครอบงำท่าน อธิบายว่า อย่านำไปสู่อบายเลย. บทว่า
ปํสุกุณฺฑิโต แปลว่า เปื้อนฝุ่น. บทว่า วิธุนํ แปลว่า กำจัด. บทว่า
ปํสุกุณฺฑิโต ได้แก่ ฝุ่นที่ติดตัว. บทว่า สํเวคมาปาทิ ความว่า ชื่อว่า แม้
เทวดาย่อมยังเราเท่าอาทิผิด สระนั้นให้ระลึกถึง ฉะนั้น จึงชื่อว่า ถึงวิเวก หรือว่าประคอง
ความเพียรอันสูงสุดแล้วปฏิบัติให้เป็นวิเวกอย่างยิ่ง.
จบอรรถกถาวิเวกสูตรที่ ๑
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 21/98/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
กาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ เว้นขาด
จากการลักทรัพย์ เว้นขาดจากการพูดเท็จ ฉันภัตตาหารครั้งเดียว ประพฤติ
พรหมจรรย์ มีศีล มีกัลยาณธรรม มหาบพิตร จะพึงทำอย่างไรกับบรรพชิตนั้น.
ข้าแต่พระกัจจานะผู้เจริญ ข้าพเจ้าพึงกราบไหว้บ้าง พึงลุกรับบ้าง พึง
เชื้อเชิญด้วยอาสนะบ้าง พึงบำรุงบรรพชิตนั้น ๆ ด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ
และคิลานปัจจัยเภสัชบริขารบ้าง พึงจัดการรักษาป้องกันคุ้มครองอันเป็นธรรม
แก่บรรพชิตนั้น ๆ บ้าง ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะชื่อเมื่อก่อนของผู้นั้นว่า
ศูทร นั้นหายไปแล้ว เขาย่อมถึงการนับว่าสมณะนั่นเทียว.
[๔๘๑] ดูก่อนมหาบพิตร มหาบพิตรจะเข้าพระทัยความข้อนั้นเป็น
ไฉน ถ้าเมื่อเป็นเช่นนั้น วรรณะสี่เหล่านี้ก็เป็นผู้เสมอกันหมดหรือมิใช่ หรือ
ในวรรณะสี่อาทิผิด อาณัติกะเหล่านี้ มหาบพิตรจะมีความเข้าพระทัยอย่างไร.
ข้าแต่พระกัจจานะผู้เจริญ แน่นอน เมื่อเป็นเช่นนี้ วรรณะสี่อาทิผิด เหล่านั้น
ก็เป็นผู้เสมอกันหมด ในวรรณะสี่เหล่านี้ ข้าพเจ้าไม่เห็นจะต่างอะไรกัน.
[๔๘๒] ดูก่อนมหาบพิตร คำที่อาตมภาพกล่าวนี้ว่า วรรณะที่ประเสริฐ
คือพราหมณ์เท่านั้น วรรณะอื่นเลว วรรณะที่ขาวคือพราหมณ์เท่านั้น วรรณะ
อื่นดำ พราหมณ์เท่านั้นบริสุทธิ์ ผู้มิใช่พราหมณ์ไม่บริสุทธิ์ พราหมณ์เท่านั้น
เป็นบุตรพรหม เป็นโอรสเกิดแต่ปากพรหม เกิดแต่พรหม อันพรหมนิรมิต
เป็นทายาทของพรหม นั่นเป็นแต่คำโฆษณาในโลกเท่านั้น ดังนี้ บัณฑิตพึง
ทราบโดยปริยายนี้.
[๔๘๓] เมื่อท่านพระมหากัจจานะกล่าวอย่างนี้แล้ว พระเจ้ามธุรราช
อวันตีบุตรได้ตรัสว่า ข้าแต่พระกัจจานะผู้เจริญ ภาษิตของท่านแจ่มแจ้งนัก
ข้าแต่พระกัจจานะผู้เจริญ ภาษิตของท่านแจ่มแจ้งนัก เปรียบเหมือนบุคคล
หงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือตามประทีปในที่อาทิผิด อาณัติกะมืด
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/634/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ภิกษุมีพรรษาเท่ากัน ปวารณาพร้อมกันเท่านั้นไม่ควร. อนึ่ง เมื่อสวดประกาศ
ว่า เตวาจกํ ปวาเรยฺย แปลว่า สงฆ์พึงปวารณา ๓ ครั้ง ดังนี้ ต้องปวารณา
๓ ครั้งเท่านั้นจึงควร จะปวารณาอย่างอื่น หาควรไม่. เมื่อสวดประกาศว่า
เทฺววาจกํ ปวาเรยฺย แปลว่า สงฆ์พึงปวารณา ๒ ครั้ง ดังนี้จะปวารณา
๒ ครั้งหรือ ๓ ครั้งก็ควร แต่จะปวารณาเพียงครั้งเดียว และปวารณา
มีพรรษาเท่ากันหาควรไม่. ก็เมื่อสวดประกาศว่า เอกวาจิกํ ปวาเชยฺย แปล
ว่า สงฆ์พึงปวารณาครั้งเดียว ดังนี้ จะปวารณาครั้งเดียว ๒ ครั้ง หรือ ๓ ครั้ง
ก็ควร แต่จะปวารณามีพรรษาเท่ากันเท่านั้นหาควรไม่. เมื่อสวดประกาศว่า
สมานวสฺสิกํอาทิผิด สระ ปวาเรยฺย แปลว่า พึงปวารณามีพรรษาเท่ากัน ดังนี้ ย่อม
ควรทุกวิธี.
บทว่า อจฺฉนฺติ คือ เป็นผู้นั่งอยู่นั่นเอง หาลุกขึ้นไม่.
บทว่า ตทนนฺตรา คือตลอดกาลระหว่างปวารณานั้น
อธิบายว่า ตลอดกาลเท่าที่ตนจะปวารณานั้น.
วินิจฉัยในข้อว่า จาตุทฺทสิกา จ ปณฺณรสิกา จ นี้ พึงทราบ
ในดิถีที่ ๑๔ พึงทำบุรพกิจอย่างนี้ว่า อชฺช ปวารณา จาตุทฺทสี
แปลว่า ปวารณาวันนี้ ๑๔ ค่ำ ในดิถีที่ ๑๕ พึงทำบุรพกิจอย่างนี้ว่า อชฺช
ปวารณา ปณฺณรสี แปลว่า ปวารณาวันนี้ ๑๕ ค่ำ.
ปวารณากรรม
วินิจฉัยในปวารณากรรม พึงทราบดังนี้:-
ถ้าว่า เมื่อภิกษุ ๕ รูปอยู่ในวัดเดียวกัน ๔ รูปนำปวารณาของรูปหนึ่ง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 47/965/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ท่านพราหมณ์ อาตมาไม่ประมาท
ทั้งกลางคืนกลางวัน เห็นอยู่ซึ่งพระพุทธเจ้า
ผู้โคดมพระองค์นั้นด้วยใจ เหมือนเห็นด้วย
จักษุ ฉะนั้น อาตมานมัสการอยู่ซึ่งพระ-
พุทธเจ้าผู้โคดมพระองค์นั้นตลอดราตรี
อาตมา มาสำคัญความไม่อยู่ปราศจาก
พระพุทธเจ้าผู้โคดมพระองค์นั้น ด้วยความ
ไม่ประมาทนั้น.
ศรัทธา ปีติ มนะ และสติของอาตมา
ย่อมน้อมไปในคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าผู้
โคดม พระพุทธเจ้าผู้โคดม ผู้มีพระปัญญา
กว้างขวาง ประทับอยู่ยังทิศาภาคใด ๆ
อาตมานั้นเป็นผู้นอบน้อมไปโดยทิศาภาค
นั้น ๆ นั่นแล.
ร่างกายของอาตมาผู้แก่แล้ว มีกำลัง
และเรี่ยวแรงน้อยนั่นเอง ท่านพราหมณ์
อาตมาไปสู่พระพุทธเจ้าด้วยการไปแห่ง
ความดำริเป็นนิตย์ เพราะว่าใจของอาตมา
ประกอบแล้วด้วยพระพุทธเจ้านั้น.
อาตมานอนอยู่บนเปือกตม คือกาม
ดิ้นรนอยู่ (เพราะตัณหา) ลอยจากเกาะหนึ่ง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/285/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จะอนุโลมเข้าสูตรนี้ได้ ก็ไม่อาจได้เหตุแตกต่างกันนี้ว่า เพื่อตนอาทิผิด อักขระไม่ควร เพื่อ
ผู้อื่นควร.
ถ้าในสูตรนี้ อาจารย์ผู้โจทก์พึงกล่าวว่า ภิกษุผู้ทำเพื่อประโยชน์
ตนเอง ย่อมกระทำด้วยอกุศลจิต เพราะรักตนเท่านั้น, แต่ภิกษุอื่นกระทำให้
ด้วยความการุณ; เพราะเหตุนั้น จึงไม่เป็นอาบัติ. แม้คำที่อาทิผิด อาณัติกะว่าเพื่อประโยชน์
แก่ตน นั่นก็ไม่ใช่เหตุ. จริงอยู่ ภิกษุย่อมต้องอาบัตินี้ แม้ด้วยอกุศลจิต
แต่เพราะคำนี้ ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถาทุกแห่ง จึงไม่อาจเพื่อจะค้านได้, บัณฑิต
จึงควรแสวงหายุติในคำนี้ อีกอย่างหนึ่งพึงรับไว้โดยเชื่ออาทิผิด ต่ออรรถกถาจารย์
ทั้งหลายแล บทที่เหลือตื้นทั้งนั้น.
สิกขาบท มีสมุฏฐาน ๓ เกิดขึ้นทางกายกับจิต ๑ ทางวาจากับจิต ๑
ทางกายวาจากับจิต ๑ เป็นกิริยา สัญญาวิโมกข์อาทิผืด อักขระ สจิตตกะ ปัณณัตติวัชชะ
กายกรรม วจีกรรม มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ดังนี้แล.
ภูตคามสิกขาบทที่ ๑ จบ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 68/256/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เป็นภัย ความไม่เศร้าโศกปลอดภัย ความรำพันเป็นภัย ความไม่รำพัน
ปลอดภัย ความคับแค้นใจเป็นภัย ความไม่คับแค้นใจปลอดภัย.
[๒๔] ควรรู้ยิ่งว่า ความเกิดขึ้นมีอามิส ( เครื่องล่อ ) ความ
เป็นไปมีอามิส ความสืบต่อมีอามิส ความประมวลมามีอามิส ความ
บังเกิดมีอามิส ความอุบัติมีอามิส ความเกิดมีอามิส ความป่วยไข้มีอามิส
ความตายมีอามิส ความเศร้าโศกมีอามิส ความรำพันมีอามิส ความ
คับแค้นใจมีอามิส.
[๒๕] ควรรู้ยิ่งว่า ความไม่เกิดขึ้นไม่มีอามิส (หมดเครื่องล่อ)
ความไม่เป็นไปไม่มีอามิส ความไม่มีเครื่องหมายไม่มีอามิส ความไม่
ประมวลมาไม่มีอามิส ความไม่สืบต่อไม่มีอามิส ความไม่ไปไม่มีอามิส
ความไม่บังเกิดไม่มีอามิส ความไม่มีอุบัติไม่มีอามิส ความไม่เกิดไม่มี
อามิส ความไม่แก่ไม่มีอามิส ความไม่ป่วยไข้ไม่มีอามิส ความไม่ตาย
ไม่มีอามิส ความไม่เศร้าโศกไม่มีอามิส ความไม่รำพันไม่มีอามิส ความ
ไม่คับแค้นใจไม่มีอามิส.
[๒๖] ควรรู้ยิ่งว่า ความเกิดขึ้นมีอามิส ความไม่เกิดขึ้นไม่มี
อามิส ความเป็นไปมีอามิส ความไม่เป็นไปไม่มีอามิสอาทิผิด เครื่องหมาย
มีอามิส ความไม่มีเครื่องหมายไม่มีอามิส ความประมวลมามีอามิส
ความไม่ประมวลมาไม่มีอามิส ความสืบต่อมีอามิส ความไม่สืบต่อไม่มี
อามิส ความไปมีอามิส ความไม่ไปไม่มีอามิส ความบังเกิดมีอามิส
ความไม่บังเกิดไม่มีอามิส ความอุบัติไม่มีอามิส ความไม่อุบัติไม่มีอามิส
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/185/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ข้อว่า เยน สา อิตฺถี เตนุปสงฺกมิ มีความว่า ท่านพระอนุรุทธะ
ฟังคำของพวกชาวบ้านว่า มีเรือนพักอันเขาจัดไว้ ณ ที่ชื่อโน้น ดังนี้ จึงเข้า
ไปหา
บทว่า คนฺธคนฺธินี มีวิเคราะห์ว่า กลิ่นแห่งของหอม มีกฤษณา
และกำยานเป็นต้น ชื่อว่า กลิ่นของหอม, กลิ่นของหอมนั้นมีแก่หญิงนั้น .
เหตุนั้น หญิงนั้นจึงชื่อว่า คันธคันธินี ผู้มีกลิ่นเครื่องหอม.
สองบทว่า สาฏกํ นิกฺขิปิตฺวา มีความว่า หญิงนั้นคิดอาทิผิด อักขระว่า แม้
ไฉนหนอ . เมื่อพระผู้เป็นเจ้านั้น เห็นประการอันแปลกแม้นี้แล พึงเกิดความ
กำหนัด ดังนี้ จึงได้กระทำอย่างนั้น.
บทว่า โอกฺขิปิตฺวา ได้แก่ ทอดลง (ซึ่งอินทรีย์)
ความผิดพลาด ชื่อว่า โทษล่วงเกิน.
สองบทว่า มํ อจฺจคฺคมา ได้แก่ เป็นไปล่วง คือ ครอบงำซึ่งดิฉัน.
บทที่เหลือบัณฑิตพึงทราบโดยนัยดังกล่าวแล้ว ในสิกขาบทก่อนนั่นแล. ก็
ความแปลกกัน มีเพียงอย่างนี้ คือ ในสิกขาบทก่อนเป็นอาบัติ ในวันที่ ๔,
ในสิกขาบทนี้ เป็นอาบัติแม้ในวันแรก. เป็นทุกกฏ (แก่ภิกษุผู้สำเร็จการนอน
ร่วมกัน) กับนางยักษ์และนางเปรตผู้มีรูปปรากฏ และสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย
เฉพาะที่เป็นวัตถุแห่งเมถุนธรรม. ก็แล สัตว์ดิรัจฉานตัวเมียที่เหลือเป็นอนาบัติ.
แม้สมุฎฐานเป็นต้น ก็เช่นเดียวกับสิกขาบทก่อนนั่นเอง ฉะนั้นแล.
ทุติยสหเสยยสิกขาบทที่ ๖ จบ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 39/269/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นตรัสคุณ คือ การบรรลุอนุปาทิเสสนิพพาน
ของพระขีณาสพ ที่สดับปริยัตติธรรม ที่ตรัสด้วย ๒ คาถาก่อนนั้น ทั้งปฏิบัติ
ตามแนวปริยัติธรรมที่สดับแล้ว บรรลุโลกุตรธรรมทั้งอาทิผิด อาณัติกะ ๙ ประการ อย่างนี้
แล้ว บัดนี้ ทรงอาศัยคุณนั้นนั่นแล เมื่อทรงประกอบสัจจวจนะ มีสังฆรัตนะ
เป็นที่ตั้ง จึงทรงจบเทศนาว่า อิทมฺปิ สงฺเฆอาทิผิด สระ เป็นต้น ความของสัจจวจนะ
นั้น พึงทราบตามนัยที่กล่าวมาก่อนแล้วนั่นแล. แต่พึงประกอบความอย่าง
เดียวอย่างนี้ว่า คุณชาตกล่าวคือพระนิพพานของภิกษุขีณาสพ โดยประการ
ตามที่กล่าวมาแล้ว แม้อันนี้เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์. พวกอมนุษย์
ในแสนโกฏิจักรวาล ก็พากันยอมรับพุทธอาชญาแห่งพระคาถานี้แล.
จบเทศนา ความสวัสดีก็ได้มีแก่ราชสกุล. อุปัทวะทั้งปวงก็ระงับ
ไป สัตว์ ๘๔,๐๐๐ ก็ได้ตรัสรู้ธรรม.
พรรณนา ๓ คาถาว่า ยานีธ เป็นต้น
ครั้งนั้น ท้าวสักกะเทวราช ทรงพระดำริว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรง
อาศัยคุณพระรัตนตรัย ประกอบสัจจวจนะ ทรงทำความสวัสดีแก่ชาวนคร.
แม้ตัวเราก็พึงกล่าวบางอย่างอาศัยคุณพระรัตนตรัย เพื่อความสวัสดีแก่ชาวนคร
ดังนี้แล้วจึงตรัส ๓ คาถาท้ายว่า ยานีธ ภูตานิ เป็นต้น. ใน. ๓ คาถานั้น
เพราะเหตุที่พระพุทธเจ้าท่านเรียกว่าตถาคต เพราะเสด็จมาอย่างที่คนทั้งหลาย
ต้องขวนขวายพากันมาเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่โลก, เพราะเสด็จไปอย่างที่คน
เหล่านั้น จะพึงไป เพราะทรงรู้ทั่วอย่างที่คนเหล่านั้นจะพึงรู้ทั่ว, เพราะทรง
รู้อย่างที่คนเหล่านั้นจะพึงรู้, เพราะทรงประสบสิ่งที่มีที่เป็นอย่างนั้น อนึ่ง
เพราะเหตุที่พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น อันเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย บูชาอย่าง
เหลือเกิน ด้วยดอกไม้และของหอมเป็นต้น ที่เกิดภายนอก เป็นอุปกรณ์และที่
พระปิฎกธรรม