Dittheva
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 30/200/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ก็ในบรรพชิตทั้งหลาย บรรพชิตที่บวชตามพระมหากัสสปเถระ
อย่างนี้ คราวแรกได้มีประมาณแสนรูป. และที่บวชตามพระจันทคุตตเถระ
ผู้เป็นสัทธิวิหาริกของพระเถระนั้น ก็มีประมาณเท่านั้นเหมือนกัน. พระสุริย-
คุตตเถระผู้เป็นสัทธิวิหาริกของพระจันทคุตตเถระนั้นก็ดี พระอัสสคุตต
เถระผู้เป็นสัทธิวิหาริกของพระสุริยอาทิผิด สระคุตตเถระนั้นก็ดี พระโยนกธรรมรักขิต
เถระผู้เป็นสัทธิวิหาริกของพระอัสสคุตตเถระนั้นก็ดี ก็ได้มีประมาณเท่านั้น
เหมือนกัน. ส่วนพระอนุชาของพระเจ้าอโศกผู้เป็นสัทธิวิหาริกของพระ
โยนกธรรมอาทิผิด อักขระรักขิตเถระ ชื่อว่า ติสสเถระ บรรพชิตบวชตามพระติสสเถระ
นั้นนับได้สองโกฏิครึ่ง. พวกบวชตามพระมหินทเถระกําหนดนับไม่ได้.
เมื่อคนบวชด้วยความเสื่อมใสในพระศาสดาในเกาะลังกาจนถึงวันนี้ ก็ชื่อว่า
บวชตามพระมหินทเถระเหมือนกัน
บทว่า ตํ ธมฺมํ ได้แก่ ซึ่งธรรมคือโอวาทานุสาสนีอาทิผิด สระของท่านเหล่านั้น.
บทว่า อนุสฺสรติ แปลว่า ย่อมระลึก. บทว่า อนุวิตกฺเกติ ได้แก่ ทำให้
วิตกนำไป. บทว่า อารทฺโธ โหติ ได้แก่ บริบูรณ์ คำเป็นต้นว่า ปวิจินติ
ทั้งหมดท่านกล่าวด้วยอำนาจการเที่ยวไปด้วยญาณในธรรมนั้น. อีกอย่างหนึ่ง
บทว่า ปวิจินติ ได้แก่ เลือกเฟ้นลักษณะแห่งธรรมเหล่านั้น ๆ บทว่า
ปวิจรติ ได้แก่ ยังญาณให้เที่ยวไปในธรรมนั้น. บทว่า ปริวีมํสมาปชฺชติ
ได้แก่ ย่อมถึงความพิจารณา ตรวจดู ค้นคว้า.
บทว่า สตฺต ผลานิ สตฺตวนิสํสา นั้น โดยใจความเป็นอย่าง.
เดียวกัน. บทว่า ทิฏฺเฐวอาทิผิด อักขระ ธมฺเม ปฏิกจฺจอาทิผิด อญฺญํ อาราเธติ ได้แก่ เมื่อ
บรรลุอรหัตผล ก็ได้บรรลุในอัตภาพนี้แล. และย่อมบรรลุอรหัตผลนั้นแล
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论