星期六, 七月 08, 2023

Khwam

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 33/301/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ไฉน คือ ความตามเห็นโดยความพอใจในธรรมอันเป็นปัจจัยแห่ง
สังโยชน์ ๑ ความพิจารณาเห็นด้วยอำนาจความอาทิผิด อักขระหน่ายในธรรมทั้งหลายอัน
เป็นปัจจัยแห่งสังโยชน์ ๑ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ตามเห็นโดยความ
พอใจในธรรมทั้งหลายอันเป็นปัจจัยแห่งสังโยชน์อยู่ ย่อมละราคะไม่ได้.
ย่อมละโทสะไม่ได้ ย่อมละโมหะไม่ได้ เรากล่าวว่า บุคคลยังละราคะ
ไม่ได้ ยังละโทสะไม่ได้ ยังละโมหะไม่ได้แล้ว ย่อมไม่พ้นจากชาติ ชรา
มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ย่อมไม่พ้นไปจากทุกข์
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้พิจารณาเห็นด้วยอำนาจความหน่ายในธรรม
ทั้งหลาย อันเป็นปัจจัยแห่งสังโยชน์อยู่ ย่อมละราคะได้ ย่อมละโทสะได้
ย่อมละโมหะได้ เรากล่าวว่า บุคคลละราคะ ละโทสะ ละโมหะได้แล้ว
ย่อมพ้นอาทิผิด สระจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส
ย่อมพ้นจากทุกข์ได้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๒ อย่างนี้แล.
จบสูตรที่ ๖

อรรถกถาสูตรที่ ๖

ในสูตรที่ ๖ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
บทว่า สญฺโญชนิเยสุ ธมฺเมสุ ความว่า ในธรรมที่เป็นไป
ในภูมิ ๓ ซึ่งเป็นปัจจัยแห่งสังโยชน์ ๑๐. บทว่า อสฺสาทานุปสฺสิตา
ความว่า ความเห็น คือภาวะที่เห็น โดยความเป็นอัสสาทะน่ายินดี. บทว่า
นิพฺพิทานุปสฺสิตา ความว่า ความเห็นด้วยอำนาจความเบื่อหน่าย คือ
ด้วยอำนาจความเอือมระอา. บทว่า ชาติยา ได้แก่จากความเกิดแห่งขันธ์.
บทว่า ชราย ได้แก่ จากความแก่แห่งขันธ์. บทว่า มรเณน ได้แก่จาก
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: