星期日, 七月 02, 2023

Thuli

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 13/146/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ผู้เจริญทั้งหลาย พระธรรมสงบหนอ ประณีตหนอดังนี้ จักตั้งใจฟัง ดังนี้.
พึงทราบว่า อาศัยเหตุนี้ จิตของพระองค์จึงน้อมไป เพื่อความที่พระองค์เป็น
ผู้มีความขวนขวายน้อย ไม่น้อมไปเพื่อจะทรงแสดงธรรม.
ในบทว่า อญฺญตรสฺส นี้ ท่านอาทิผิด อักขระกล่าวว่า อญฺญตโร ก็จริง ถึงดังนั้น
พึงทราบว่า นั่นคือมหาพรหมผู้ใหญ่ในจักรวาลนี้. บทว่า นสฺสติ วต โภ โลโก
ความว่า นัยว่ามหาพรหมนั้นเปล่งเสียงนี้ โดยที่หมู่พรหมอาทิผิด อักขระใน หมื่นโลกธาตุ
สดับแล้ว ทั้งหมดประชุมกัน. บทว่า ยตฺร หิ นาม คือในโลกชื่อใด. บทว่า
ปุรโต ปาตุรโหสิ ความว่า มหาพรหมได้ปรากฏพร้อมกับพรหมหนึ่งหมื่น
เหล่านั้น. บทว่า อปฺปรชกฺขชาติกา ความว่า ธุลีอาทิผิด อักขระ คือราคะโทสะและโมหะ
เบาบาง คือนิดหน่อย ในดวงตาอันสำเร็จด้วยปัญญา สภาพอย่างนี้ของสัตว์
ทั้งหลายเหล่านั้นยังมีอยู่ เพราะเหตุนั้น สัตว์ทั้งหลายชื่อว่า อปฺปรชกฺขชาติกา
คือ มีกิเลสอาทิผิด อักขระเพียงดังธุลีในจักษุเบาบาง. บทว่า อสฺสวนตา คือเพราะมิได้ฟัง.
บทว่า ภวิสฺสนฺติ ความว่า ท่านแสดงว่า สัตว์ทั้งหลายผู้สร้างสมบุญไว้แล้ว
ถึงความแก่กล้าในพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ด้วยสามารถบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ หวัง
พระธรรมเทศนาอย่างเดียวเหมือนประทุมชาติหวังแสงอาทิตย์ เป็นผู้ควรหยั่ง
ลงสู่อริยภูมิ ในเมื่อจบคาถา ๔ บท ไม่ใช่คนเดียว ไม่ใช่สองคน มีหลายแสน
จักเป็นผู้รู้ธรรม ดังนี้.
บทว่า อชฺเฌสนํ คือวิงวอนอย่างนี้ ๓ ครั้ง. บทว่า พุทฺธจกฺขุนา
ความว่า ด้วยปรีชากำหนดรู้ความหย่อนและยิ่ง แห่งอินทรีย์ของสัตว์ทั้งหลาย
และด้วยอาสยานุสยญาณ. บทว่า พุทฺธจกฺขุ เป็นชื่อแห่งญาณทั้งสองนี้. บทว่า
สมนฺตจกฺขุ เป็นชื่อแห่งพระสัพพัญญุตญาณ. บทว่า ธมฺมจกฺขุ เป็นชื่อแห่ง
มรรคญาณ ๓. ในบทว่า อปฺปรชกฺเข เป็นต้น ความว่า สัตว์ที่มีธุลีมีราคะ
เป็นต้น ในปัญญาจักษุน้อยโดยนัยที่กล่าวนั้นแล. ชื่อว่า อปฺปรชกฺขา คือมี
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: