星期三, 八月 21, 2013

Fang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 38/392/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๒. อริยธรรมสูตร
ว่าด้วยอริยธรรมและอนริยธรรม
[๑๓๕] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดง อริยธรรม และ อนริย-
ธรรม แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว
ภิกษุเหล่านั้น ทูลรับพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อนริยธรรมเป็นไฉน มิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ มิจฉา-
วิมุตติ นี้เรียกว่าอนริยธรรม ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อริยธรรมเป็นไฉน
สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุตติ นี้เรียกว่าอริยธรรม.
จบอริยธรรมสูตรที่ ๒

อรรถกถาอริยธรรมสูตรที่ ๒ เป็นต้น
สูตรที่ ๒ เป็นต้น มีเนื้อความง่ายเหมือนกันแล.
จบอรรถกถาสาธุวรรคที่ ๔

๓. กุสลสูตร
ว่าด้วยกุศลอาทิผิด อักขระธรรมและอกุศลธรรม
[๑๓๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงกุศลธรรมและอกุศล-
ธรรม แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟังอาทิผิด  จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว
ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อาทิผิด อาณัติกะอกุศลธรรมเป็นไฉน มิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ มิจฉา-
วิมุตติ นี้เรียกว่าอกุศลธรรม ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็กุศลธรรมเป็นไฉน
สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุตติ นี้เรียกว่ากุศลธรรม.
จบกุสลสูตรที่ ๓
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: