星期六, 八月 10, 2013

Pracha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 61/177/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า พาลายํ พาลสฺส ความว่า พระราชานี้
เป็นพาลด้วยพระองค์เอง ทรงฟังถ้อยคำของชฎิลโกงผู้เป็นพาลโง่เขลาแล้ว
ตรัสสั่งให้ฆ่าข้าพเจ้าโดยหาเหตุมิได้.
ก็แลพระโพธิสัตว์เจ้า ตรัสดังนี้แล้ว ถวายบังคมพระราชบิดาให้ทรง
อนุญาตให้พระองค์ทรงบรรพชาแล้ว ตรัสพระคาถานอกนี้ความว่า
เมื่อรากยังเจริญงอกงามแผ่ไพศาลอยู่ ไม้ไผ่ที่
แตกเป็นกอใหญ่แล้ว ก็แสนยากที่จะถอนให้หมดสิ้น
ไปได้ ข้าแต่พระราชบิดาผู้เป็นจอมประชาอาทิผิด อักขระราษฎร์
เกล้ากระหม่อมฉันขอถวายบังคมพระยุคลบาทอาทิผิด อักขระ ขอ
พระราชทานพระบรมราชานุญาต กระหม่อมฉันจักขอ
ออกบวช พระเจ้าข้า.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า วิสเต ความว่า (ไม้ไผ่) แตกเป็นกอ
ลำใหญ่. บทว่า ทุนฺนิกฺขโย ความว่า ยากที่จะถอนให้หมดสิ้น.
ต่อแต่นี้ไป เป็นคาถาประพันธ์ โต้ตอบระหว่างพระราชากับพระราช-
โอรส.
(พระราชาตรัสว่า) โสมนัสสกุมารเอ๋ย เจ้าจง
เสวยสมบัติอันไพบูลย์เถิด อนึ่ง บิดาจะมอบอิสริยยศ
ทั้งหมดให้แก่เจ้า เจ้าจงเป็นพระราชาของชาวกุรุรัฐ
เสียในวันนี้ทีเดียวเถิด อย่าบวชเลย เพราะการบวช
เป็นทุกข์.
(พระโพธิสัตว์ทูลว่า) ขอเดชะ บรรดาโภค-
สมบัติของพระองค์ ซึ่งมีอยู่ในราชธานีนี้ สิ่งไรเล่าที่
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: