星期六, 八月 03, 2013

Tam

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 66/505/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พวกคนที่ต่ำอาทิผิด อาณัติกะกว่า ในพวกตนที่สูงกว่า ความว่า ญาณเรียกว่า โมนะ
ได้แก่ ปัญญา ความรู้ ฯลฯ ก้าวล่วงธรรมเป็นเครื่องข้อง และตัณหา
เพียงดังข่ายดำรงอยู่ บุคคลนั้นชื่อว่ามุนี มุนีย่อมไม่พูดถึง ไม่กล่าว ไม่
บอก ไม่แสดง ไม่แถลง ว่าเราดีกว่าเขา เราเสมอเขา หรือว่าเราเลว
กว่าเขา เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า มุนีย่อมไม่พูดถึงตนในพวกคนที่เสมอ
กัน ในพวกคนที่ต่ำกว่า ในพวกคนที่สูงกว่า.
[๘๘๐] คำว่า เป็นผู้สงบ ในคำว่า มุนีนั้นเป็นผู้สงบ ปราศจาก
ความตระหนี่ ความว่า ชื่อว่าเป็นผู้สงบ เข้าไปสงบ เข้าไปสงบวิเศษ
ดับแล้ว ระงับแล้ว เพราะราคะ โทสะ โมหะ ฯลฯ อกุสลาภิสังขาร
ทั้งปวง เป็นสภาพสงบ สงบเงียบ เข้าไปสงบวิเศษ ถูกเผา ดับ ปราศไป
ระงับแล้ว เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า มุนีนั้นเป็นผู้สงบ.
คำว่า ปราศจากความตระหนี่ ความว่า ความตระหนี่ ๕ ประการ
คือ ความตระหนี่อาวาส ฯลฯ ความหวงไว้ นี้เรียกว่า ความตระหนี่
ความตระหนี่นั้น อันมุนีใดละ ตัดขาด สงบ ระงับแล้ว ทำไม่ให้ควร
เกิดขึ้น เผาเสียแล้วด้วยไฟคือญาณ มุนีนั้นเรียกว่า ผู้ปราศจากความ
ตระหนี่ หายจากความตระหนี่ กำจัดความตระหนี่ สำรอกความตระหนี่
พ้นความตระหนี่ ละความตระหนี่ สละคืนความตระหนี่ เพราะฉะนั้น
จึงชื่อว่า มุนีนั้นเป็นผู้สงบ ปราศจากความตระหนี่.
[๘๘๑] คำว่า ย่อมไม่ยึดถือ ในความอาทิผิด อักขระว่า ย่อมไม่ยึดถือ ย่อม
ไม่สลัด พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดังนี้ ความว่า มุนีนั้น ย่อมไม่ยึดถือ
ไม่ถือเอา ไม่เข้าไปถือ ไม่ถือ ไม่ยึดมั่น ไม่ถือมั่น ซึ่งรูป เวทนา
สัญญา สังขาร วิญญาณ คติ อุปบัติ ปฏิสนธิ ภพ สงสาร วัฏฏะ
เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ไม่ยึดถือ.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: