星期三, 四月 15, 2015

Awitcha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 66/104/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อวิชฺชาอาทิผิด อักขระนิโรธา เพราะดับอวิชชาหมายถึงการกลับไปแห่งสังสารวัฏ. ท่าน
กล่าวว่า อิทํ ทุกฺขํ นี้เป็นทุกข์เป็นต้น ด้วยเห็นอริยสัจ . ท่านกล่าวว่า
อิเม อาสวา อาสวะเหล่านี้เป็นต้น โดยปริยายอย่างอื่นด้วยอำนาจกิเลส
ด้วยอำนาจการเห็นสัจธรรม. ท่านกล่าวว่า อิเม ธมฺมา อภิญฺเญยฺยา
ธรรมเหล่านี้ควรรู้ยิ่งเป็นต้น ด้วยอำนาจการเห็นธรรมที่ควรรู้ยิ่ง ที่ควร
กำหนดรู้ ที่ควรละและที่ควรทำให้แจ้ง. ท่านกล่าวคำมีอาทิว่า ฉนฺนํ
ผสฺสายตนานํ ผัสสายตนะ ๖ ด้วยอำนาจการเห็น การเกิด การดับคุณโทษ
และอุบายเครื่องสลัดออกไปแห่งสฬายตนะ ๖ ขันธ์ทั้งหลายท่านกล่าวด้วย
อำนาจการเห็นมีอาทิอย่างนี้ ความเกิดและความเสื่อมแห่งอุปาทานขันธ์ ๕
โดยอาการ ๒๕ อย่าง ความพอใจด้วยอำนาจฉันทราคะในขันธ์เหล่านั้น
ความปรวนแปรและโทษของขันธ์เหล่านั้น นิพพานอันได้แก่การสลัดออก
ไป ความเกิดมีอวิชชาเป็นต้น แห่งมหาภูตรูป ๔ และความดับในนิโรธ
มีอวิชชาเป็นต้น. พึงทราบธรรมเหล่านี้โดยนัยที่กล่าวแล้วในที่นั้น ๆ.
บทว่า อมโตคธํอาทิผิด หยั่งลงสู่อมตะ ชื่อว่า อมตะ เพราะไม่มีความตายอัน
ได้แก่มรณะ. ชื่อว่า อมตะ คือเป็นยาบ้าง เพราะเป็นปฏิปักษ์ต่อกิเลส.
ชื่อว่า อมโตคธํ เพราะน้อมไปในอมตะนั้น. บทว่า อมตปรายนํ มี
อมตะเป็นเบื้องหน้า คือมีอมตะดังกล่าวแล้วเป็นเบื้องหน้า เป็นที่ไป เป็น
ทางไปเป็นที่พึ่ง เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า อมตปรายนํ. บทว่า อมตปริโย-
สานํ มีอมตะเป็นที่สุด คือมีอมตะนั้นเป็นที่สุด เพราะสิ้นสุดสังสารวัฏแล้ว
เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า อมตปริโยสานํ.
บทว่า ลาภกมฺยา น สิกฺขติ บุคคลไม่ศึกษาเพราะอยากได้ลาภ
คือไม่ศึกษาในพระสูตรเป็นต้น เพราะปรารถนาลาภ. บทว่า อวิรุทฺโธ
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: