星期日, 四月 12, 2015

Kammabot

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 43/116/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อยู่สิ้นพุทธันดรหนึ่ง มีอัตภาพมีประการดังกล่าวแล้ว เสวยทุกข์อยู่ที่
ภูเขาคิชฌกูฏในบัดนี้.
พระศาสดาตรัสพระธรรมเทศนา
พระศาสดา ครั้นทรงนำบุรพกรรมนี้ ของสูกรเปรตนั้นมาแล้ว
ตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย ธรรมดาว่าภิกษุ พึงเป็นผู้เข้าไปสงบด้วยกาย
เป็นต้น” แล้วตรัสพระคาถานี้ว่า :-
๔. วาจานุรกฺขี มนสา สุสํวุโต
กาเยน จ อกุสลํ น กยิรา
เอเต ตโย กมฺมปเถ วิโสธเย
อาราธเย มคฺคํ อิสิปฺปเวทิตํ.
“บุคคลผู้มีปกติรักษาวาจา สำรวมดีแล้วด้วยใจ
และไม่ควรทำอกุศลด้วยกาย พึงยังกรรมบถอาทิผิด อักขระทั้งสาม
เหล่านี้ให้หมดจด พึงยินดีทางที่ท่านผู้แสวงหาคุณ
ปราศแล้ว.”
แก้อรรถ
ความแห่งพระคาถานั้นว่า “ บุคคล ชื่อว่าผู้มีปกติตามรักษาวาจา
เพราะเว้นทุจริต ๔๑., ชื่อว่าสำรวมใจแล้วด้วยดี เพราะไม่ยังมโนทุจริตมี
อภิชฌาเป็นต้นให้เกิดขึ้น. และเมื่อสู่กายทุจริต มีปาณาติบาตเป็นต้น
ชื่อว่าไม่ควรทำอกุศลด้วยกาย, พึงยังกรรมบถ ๓ เหล่านั้น ให้หมดจด
ด้วยอาการอย่างนี้; ก็เมื่อให้หมดจดได้อย่างนั้น ชื่อว่าพึงยินดีมรรคมี
๑. วจีทุจริต ๔ คือ ๑. พูดเท็จ ๒. พูดคำหยาบ ๓. พูดส่อเสียด ๔. พูดเพ้อเจ้อ คือตัดเสียซึ่ง
ประโยชน์ตนและคนอื่น.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: