turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/243/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ก็ไม่ควรจะให้บวช. กุลบุตรผู้นั้นเป็นโรคฝีนั้น แม้เมื่อให้เยียวยาแล้วจะให้บวช
ต่อทำร่างกายให้มีผิวเรียบแล้วจึงควรให้บวช. ที่มีชื่อว่าติ่ง คล้ายนมโคหรือ
คล้ายนิ้วมือ ห้อยอยู่ในที่นั้น ๆ ก็มี แม้ติ่งเหล่านี้ก็จัดเป็นฝีเหมือนกัน เมื่อติ่ง
เหล่านั้นมี ไม่ควรจะให้บวช. หัวหูด มีในเวลาเป็นเด็ก ที่มีหัวสิว มีที่หน้า
ในเวลาเป็นหนุ่ม ในเวลาแก่หายหมดไป หัวหูดและหัวสิวเหล่านั้นไม่นับเป็น
ฝี เมื่อหัวเหล่านั้นมีจะให้บวชก็ควร. ส่วนเม็ดชนิดอื่น ที่ชื่อเม็ดผด มีตาม
ตัว ชนิดอื่นอีกที่ชื่อเกสรบัวก็มี ชนิดอื่นที่ชื่อเมล็ดพันธุ์ผักกาด มีขนาดเท่า
เมล็ดผักกาด ผื่นไปทั่วตัว. เมล็ดเหล่านั้นทั้งหมด เป็นชาติโรคเรื้อนเหมือน
กัน เมื่อเมล็ดเหล่านั้นมี ไม่ควรให้บวช. โรคเรื้อนมีสีคล้ายใบอาทิผิด สระบัวแดงและบัว
ขาว ไม่แตก ไม่เยิ้ม ชื่อโรคกลาก ร่างกายเป็นอวัยวะลายพร้อยเหมือนกระ
แห่งโคด้วยโรคเรื้อนชนิดใด. พึงทราบวินิจฉัยในโรคกลากนั้น โดยนัยที่กล่าว
แล้วในโรคเรื้อนชนิดนั้นแล.
ไข้มองคร่อ ชื่อโสสะ. เมื่อไข้มองคร่อนั้นมี ไม่ควรให้บวช.
โรคบ้าเพราะดี หรือโรคบ้าด้วยถูกผีสิง ชื่อโรคลมบ้าหมู. ในโรค
ลมบ้าหมู ๒ ชนิด บุคคลผู้ถูกอมนุษย์ซึ่งเคยเป็นคู่เวรกันสิงแล้ว ย่อมเป็นผู้ที่
เยียวยาได้ยาก. และเมื่อโรคลมบ้าหมูนั้นมีแม้เพียงเล็กน้อย ก็ไม่ควรให้บวช.
อรรถกถาปัญจาพาธวัตถุกถา จบ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/248/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คนบางคนพูดทัดทานอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายอย่าได้พูดเช่นนี้ เพราะ
พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้มีพระบรมราชานุญาตไว้ว่า กุลบุตร
เหล่าใดบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร กุลบุตรเหล่านั้น ใคร ๆ
จะทำอะไรไม่ได้ เพราะธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว จงประพฤติ
พรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.
ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระ-
ศากยบุตรเหล่านี้ มิใช่ผู้หลบหลีกภัย ใคร ๆ จะทำอะไรไม่ได้ แต่ไฉนจึงให้
โจรผู้หนีเรือนจำบวชเล่า ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระอาทิผิด สระภาคเจ้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย โจร
ผู้หนีเรือนจำ ภิกษุไม่พึงให้บวช รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฎ.
ห้ามบวชโจรผู้ถูกออกหมายสั่งจับ
[๑๐๕] ก็โดยสมัยนั้นแล บุรุษคนหนึ่งทำโจรกรรม แล้วหนีไปบวช
ในสำนักภิกษุ และบุรุษนั้นถูกเจ้าหน้าที่ออกหมายประกาศไว้ทั่วราชอาณาจักร
ว่า พบในที่ใด พึงฆ่าเสียในที่นั้น คนทั้งหลายเห็นแล้ว กล่าวอย่างนี้ว่า
ภิกษุรูปนี้ คือโจรผู้ถูกออกหมายจับคนนั้น ถ้ากระไร พวกเราจงฆ่ามันเสีย.
คนบางพวกพูดทัดทานอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายอย่าได้พูดเช่นนี้ เพราะ
พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชได้มีพระบรมราชานุญาตไว้ว่า กุลบุตรเหล่า
ใด บวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร กุลบุตรเหล่านั้น ใคร ๆ
จะทำอะไรไม่ได้ เพราะธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว จงประพฤติ
พรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.
ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระ
ศากยบุตรเหล่านั้น มิใช่ผู้หลบหลีกภัย ใคร ๆ จะทำอะไรไม่ได้ แต่ไฉนจึงให้
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/305/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จะโปรดให้ทำอะไร ประพฤติถูกพระทัย พูดจาไพเราะ คอยเฝ้าสังเกต
พระพักตร์ เขาจะมีความคิดเห็นอย่างนี้ว่า คติของบุญ วิบากของบุญ
น่าอัศจรรย์นัก ไม่เคยมีมา ความจริงพระเจ้าแผ่นดินมคธพระนามว่า
อชาตศัตรูเวเทหิบุตร พระองค์นี้ เป็นมนุษย์ แม้เราก็เป็นมนุษย์ แต่
พระองค์ท่านทรงเอิบอิ่ม พรั่งพร้อม ได้รับบำเรออยู่ด้วยเบญจกามคุณ
ประหนึ่งเทพเจ้า ส่วนเราสิเป็นทาสรับใช้ของพระองค์ท่านต้องตื่นก่อน
นอนทีหลัง ต้องคอยฟังพระบัญชาว่า จะโปรดให้ทำอะไร ต้องประพฤติ
ให้ถูกพระทัย ต้องพูดจาไพเราะ ต้องคอยเฝ้าสังเกตพระพักตร์ เราพึง
ทำบุญ จะได้เป็นเหมือนพระองค์ท่าน อย่ากระนั้นเลย เราพึงปลงผมและ
หนวด นุ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์ ออกบวชเป็นบรรพชิต สมัยต่อมา เขา
ปลงผมและหนวด นุ่งห่ม ผ้ากาสาวพัสตร์ ออกบวชเป็นบรรพชิต ครั้น
บวชแล้ว เป็นผู้สำรวมกาย สำรวมวาจา สำรวมใจอยู่ สันโดษด้วยความ
มีเพียงอาหาร และผ้าปิดกายเป็นอย่างยิ่ง ยินดียิ่งในความสงัด ถ้าพวก
ราชบุรุษพึงกราบทูลถึงพฤติการณ์ของเขาอย่างนี้ว่า ขอเดชะ ขอพระองค์
พึงทรงทราบเถิด บุรุษผู้เป็นทาสกรรมกรของพระองค์ ผู้ตื่นก่อนนอน
ทีหลัง คอยฟังพระบัญชาว่า จะโปรดให้ทำอะไร ประพฤติถูกพระทัย
พูดจาไพเราะ คอยเฝ้าสังเกตพระพักตร์อยู่นั้น เขาปลงผมและหนวด
นุ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์ ออกบวชเป็นบรรพชิต เมื่อบวชแล้ว เป็นผู้
สำรวมกาย สำรวมวาจา สำรวมใจอยู่ สันโดษด้วยความมีเพียงอาหาร
และอาทิผิด สระผ้าปิดกายเป็นอย่างยิ่ง ยินดียิ่งในความสงัด มหาบพิตรจะพึงตรัส
อย่างนี้เทียวหรือว่า พ่อมหาจำเริญคนนั้นของข้ามาสิ จงมาเป็นทาสเป็น
กรรมกรของข้า จงตื่นก่อนนอนทีหลัง จงคอยฟังบัญชาว่าจะให้ทำอะไร
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 26/234/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อรรถกถาโลกายติกสูตรที่ ๘
ในโลกายติกสูตรที่ ๘ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
บทว่า โลกายติโก ได้แก่ผู้กระทำความคุ้นเคยในทิฏฐิว่าด้วยความ
สืบต่อแห่งโลก อันหมู่ชนผู้คุ้นเคยกันคุยกันเล่นสนุก ๆ. บทว่า เชฏฺฐเมตํ
โลกายตํ ได้แก่ ทิฏฐิว่าด้วยความสืบต่อแห่งโลกข้อที่ ๑. บทว่า โลกายตํ
ได้แก่ ความสืบต่อแห่งโลกนั่นเอง คือความสืบต่อแห่งโลกพาลปุถุชน
ได้แก่ทิฏฐิว่ามีเล็กน้อย อันบุคคลเข้าไปทรงจำว่าใหญ่ว่าลึก. ด้วยบทว่า
เอกตฺตํ นี้ พราหมณ์ชื่อ ชาณุสโสณี ถามถึงสิ่งที่มีสภาพเป็นอย่างเดียว
กันว่า เป็นสิ่งที่เที่ยงนั่นเอง. ด้วยบทว่า ปุถุตฺตํ ชาณุสโสณีพราหมณ์ถาม
ถึงสภาพที่ต่างจากสภาพอาทิผิด อักขระก่อน หมายเอาความขาดสูญว่า สิ่งทั้งปวงมีโดย
ภาวะเป็นเทวดาและมนุษย์เป็นต้นก่อน แต่ภายหลังย่อมไม่มีอีก. ในพระ
สูตรนี้ พึงทราบสัสตทิฏฐิ ๒ คือ สิ่งทั้งปวงมีอยู่ ๑. สิ่งทั้งปวงมีสภาวะ
เป็นอย่างเดียวกัน ๑. พึงทราบอุจเฉททิฏฐิ ๒ คือ สิ่งทั้งปวงไม่มี ๑ สิ่ง
ทั้งปวงมีสภาวะต่างกัน ๑ ด้วยประการฉะนี้.
จบอรรถกถาโลกายติกสูตรที่ ๘
๙. ปฐมอริยสาวกสูตร
ว่าด้วยนามรูปมี ชรามรณะจึงมี
[๑๗๘] พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อาราม
ของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี กรุงสาวัตถี. ณ ที่นั้นแล. . . พระผู้มี-
พระภาคเจ้าได้ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับมิได้มี
ความสงสัยอย่างนี้ว่า เมื่ออะไรมี อะไรจึงมีหรือหนอแล เพราะอะไรเกิด
ขึ้น อะไรจึงเกิดขึ้น เมื่ออะไรมี นามรูปจึงมี เมื่ออะไรมี สฬายตนะจึงมี
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 33/228/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ผู้ประกอบด้วยสติอันควบคุมการพิจารณาเห็นกายด้วยกาย ๑๘ อย่าง.
บทว่า วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาอาทิผิด โทมนสฺสํ มีอธิบายว่า ภิกษุนำออก
คือข่มตัณหาอันเป็นไปในกามคุณ ๕ และโทมนัสอันประกอบด้วยปฏิฆะ
ในโลก กล่าวคือกายนั้นนั่นแหละ เป็นผู้พิจารณาเห็นกายในกายอยู่.
ด้วยประการเพียงเท่านี้ พึงทราบว่า ท่านกล่าวการพิจารณารูปล้วนๆ ด้วย
กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน.
บทว่า เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี ความว่า ก็ในคำเป็นต้นว่า
บรรดาเวทนาทั้งหลายมีสุขเวทนาเป็นต้น ภิกษุเป็นผู้พิจารณาเห็นเวทนา
๙ อย่างดังที่ตรัสไว้อย่างนี้ว่า เมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่า เรากำลัง
เสวยสุขเวทนา เมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่า เรากำลังเสวยทุกขเวทนา
เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ( เวทนาที่ไม่สุขไม่ทุกข์) ย่อมรู้ชัดว่า เราเสวย
อทุกขมสุขเวทนา เมื่อเสวยสุขเวทนาอิงอามิส หรือสุขเวทนาปราศจาก
อามิส ทุกขเวทนาอิงอามิส หรือทุกขเวทนาปราศจากอามิส อทุกขมสุข
เวทนาอิงอามิส หรืออทุกขมสุขเวทนาปราศจากอามิส ย่อมรู้ชัดว่า เรา
เสวยอทุกขมสุขเวทนาปราศจากอามิส ดังนี้ พึงทราบเนื้อความในเรื่องนี้
ด้วยอำนาจของวิริยะ ปัญญา และสติ ซึ่งเป็นตัวกำกับการเจริญเวทนา-
นุปัสสนาสติปัฏฐานโดยประการ ๙ อย่าง. ก็ในบทว่า โลเก นี้ พึงทราบว่า
ได้แก่เวทนา.
แม้ในจิตและธรรมเป็นต้นก็มีนัยนี้แหละ. แต่บทว่า จิตฺเต จิตฺตา-
นุปสฺสี ในสูตรนี้ มีความหมายว่า พิจารณาเห็นด้วยอนุปัสสนาอัน
พิจารณาอย่างนี้ ในจิต ๑๖ ประเภทที่ท่านขยายความไว้ว่า หรือย่อม
รู้ชัดจิตมีราคะว่าเป็นจิตมีราคะ ดังนี้.
บทว่า ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี ความว่า พิจารณาเห็นธรรม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/335/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อาสวะ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา เมื่อ
เธอรู้เห็นอย่างนี้ จิตย่อมหลุดพ้น แม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ
แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัด
ว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่น
เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี มหาบพิตร นี้แหละสามัญญผลที่เห็นประจักษ์
ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ข้อก่อนๆ. มหาบพิตร
ก็สามัญญผลที่เห็นประจักษ์ข้ออื่น ที่ดียิ่งกว่า หรือประณีตกว่าสามัญอาทิผิด สระญผลที่
เห็นประจักษ์ข้อนี้ ย่อมไม่มี.
(๑๓๙) เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้แล้ว พระเจ้าอชาต-
ศัตรูเวเทหิบุตร เจ้าแผ่นดินมคธ ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภาษิตของพระองค์ไพเราะจับใจยิ่งนัก เปรียบเหมือน
หงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่องประทีป
ในที่มืด ด้วยคิดว่า ผู้มีจักษุจักเห็นรูป ดังนี้ ฉันใด พระผู้มีพระภาคเจ้า
ทรงประกาศพระธรรมโดยอเนกปริยาย ฉันนั้นเหมือนกัน ข้าแต่พระองค์
ผู้เจริญ ข้าพระองค์ขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์
ว่าเป็นสรณะ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้า โปรดทรงจำข้าพระองค์ ว่าเป็น
อุบาสกผู้ถึงสรณะตลอดชีวิต ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป โทษได้ครอบงำ
ข้าพระองค์ซึ่งเป็นคนเขลา คนหลง ไม่ฉลาด ข้าพระองค์ได้ปลงพระ
ชนมชีพพระบิดา ผู้ดำรงธรรม เป็นพระราชาโดยธรรม เพราะปรารถนา
ความเป็นใหญ่ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าโปรดทรงรับทราบความผิดของ
ข้าพระองค์โดยเป็นความผิดจริง เพื่อสำรวมต่อไป พระผู้มีพระภาคเจ้า
ตรัสตอบว่า จริง มหาบพิตร ความผิดได้ครอบงำมหาบพิตรซึ่งเป็นคน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/337/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๒. อรรถกถาสามัญญผลสูตร
พระบาลีสามัญญผลสูตรว่า เอวมฺเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา ราชคเห
ดังนี้ เป็นต้น.
ในพระบาลีนั้น มีการพรรณนาตามลำดับบทดังต่อไปนี้
บทว่า ราชคเห ความว่า ในพระนครซึ่งมีชื่ออย่างนั้น จริงอยู่
พระนครนั้น เรียกกันว่า ราชคฤห์ เพราะพระเจ้ามันธาตุราช และ
ท่านมหาโควินท์เป็นต้น ครอบครอง.
ก็ในคำว่า ราชคฤห์นี้มีนักปราชญ์อื่นอาทิผิด ๆ พรรณนาไว้มากมาย จะ
มีประโยชน์อะไร ด้วยคำเหล่านั้น เพราะคำนั้น เป็นเพียงชื่อของเมือง
เท่านั้น.
พระนครราชคฤห์นี้ เป็นเมืองทั้งในพุทธกาล ทั้งในจักรพรรดิ-
กาล ส่วนในกาลที่เหลือ เป็นเมืองร้าง พวกยักษ์ครอบครอง เป็นป่า
ที่อยู่อาศัยของยักษ์เหล่านั้น.
คำว่า วิหรติ นี้ ตามธรรมดาเป็นคำแสดงถึงความพร้อมเพรียงด้วย
วิหารธรรมอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาอิริยาบถวิหารทิพพวิหารพรหมวิหาร
และอริยวิหาร.
แต่ในที่นี้ แสดงถึงการยืน เดิน นั่ง นอน ซึ่งเป็นอิริยาบถที่
ผลัดเปลี่ยนกันเท่านั้น ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จะประทับยืนก็ตาม
เสด็จดำเนินไปก็ตาม ประทับนั่งก็ตาม บรรทมก็ตาม พึงทราบว่าอาทิผิด สระ วิหรติ
ประทับอยู่ ทั้งนั้น. ด้วยว่า พระองค์ทรงบำบัดความลำบากแห่งอิริยาบถหนึ่ง
ด้วยอิริยาบถหนึ่ง ทรงบริหารอัตตภาพมิให้ทรงลำบากพระวรกาย ฉะนั้น
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/349/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เงินเปล่งรัศมี.
บทว่า อุปริปาสาทวรคโต ความว่า ประทับอยู่ในมหาปราสาท
ชั้นบน. ประทับนั่งเหนือพระราชอาสน์ทองภายใต้มหาเศวตฉัตรที่ยกขึ้น
ไว้ซึ่งควรแก่ความอาทิผิด อักขระยิ่งใหญ่.
ถามว่า ประทับนั่งทำไม ?
แก้ว่า เพื่อบรรเทาความหลับ.
พระราชาองค์นี้แหละ ตั้งแต่วันที่พยายามปลงพระชนม์พระบิดา
พอหลับ พระเนตรทั้ง ๒ ลงด้วยตั้งพระทัยว่าจักหลับ ก็สะดุ้งเฮือกเหมือน
ถูกหอกตั้งร้อยเล่มทิ่มแทง ทรงตื่นอยู่ (ไม่หลับ เพราะหวาดภัย
เหลือเกิน). ครั้นพวกอำมาตย์ทูลถามว่า เป็นอะไร พระองค์ก็มิได้ตรัส
อะไร ๆ. เพราะฉะนั้น ความหลับจึงมิได้เป็นที่พอพระทัยของพระองค์.
ดังนั้นจึงประทับนั่งเพื่อบรรเทาความหลับ.
อนึ่ง ในวันนั้นมีนักษัตรเอิกเกริกมาก. ทั่วพระนครกวาดกัน
สะอาดเรียบร้อย. เอาทรายมาโรย. ประตูเรือนประดับดอกไม้ ๕ สี.
ข้าวตอกและหม้อใส่น้ำอาทิผิด เต็ม. ทุกทิศาภาคชักธงชัย ธงแผ่นผ้า. ประดับ
ประทีปมาลาอาทิผิด อักขระวิจิตรโชติช่วง. มหาชนเล่นนักษัตรกันสนุกสนานตามอาทิผิด อักขระวิถีถนน
เบิกบานกันทั่วหน้า.
อาจารย์บางท่านกล่าวว่า ประทับนั่งเพราะเป็นวันเล่นนักษัตร
ดังนี้ก็มี. ก็แลครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว เป็นอันทำสันนิษฐานว่า นักษัตร
ทุกครั้งเป็นของราชตระกูล แต่พระราชาองค์นี้ ประทับนั่งเพื่อบรรเทา
ความหลับเท่านั้น.
บทว่า อุทานํ อุทาเนสิ ความว่า ทรงเปล่งอุทาน.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/350/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
น้ำมันที่ล้นเครื่องตวงจนไม่อาจตวงได้ เขาเรียกว่า น้ำมันล้น
ฉันใด และน้ำที่ท่วมบ่อจนไม่อาจขังอาทิผิด อักขระอยู่ได้ เขาเรียกว่า ห้วงน้ำล้น
ฉันใด คำปีติที่เปี่ยมใจจนไม่อาจเก็บไว้ได้ ดำรงอยู่ภายในใจไม่ได้
ล้นออกมาภายนอกนั้น เรียกว่า อุทาน ฉันนั้น. พระราชาทรงเปล่งคำที่
สำเร็จด้วยปีติเห็นดังนี้.
บทว่า โทสินา ความว่า ปราศจากโทษ. อธิบายว่า ปราศจาก
เครื่องเศร้าหมอง ๔ ประการเหล่านี้ คือ หมอก น้ำค้าง กลุ่มควัน
ราหู.
ราตรีนั้นมีคำชม ๕ ประการ มีเป็นที่น่ารื่นรมย์เป็นต้น ก็ราตรีนั้น
ชื่อว่า รมฺมนียา เพราะอรรถว่า ทำใจของมหาชนให้รื่นรมย์.
ชื่อว่า อภิรูปา เพราะอรรถว่า งามยิ่งนัก เพราะสว่างด้วยแสง
จันทร์ซึ่งพ้นจากโทษดังกล่าว.
ชื่อว่า ทสฺสนียา เพราะอรรถว่า ควรที่จะดู.
ชื่อว่า ปาสาทิกา เพราะอรรถว่า ทำจิตให้ผ่องใส.
ชื่อว่า ลกฺขญฺญา เพราะอรรถว่า ควรที่จะกำหนดวันและเดือน
เป็นต้น.
บทว่า กํ นุ ขฺวชฺช ตัดบทเป็น กํ นุ โข อชฺช.
บทว่า สมณํ วา พฺราหฺมณํ วา ความว่า ชื่อว่าสมณะ เพราะ
เป็นผู้สงบบาป ชื่อว่า พราหมณ์ เพราะเป็นผู้ลอยบาป
บทว่า ยนิโน ปยิรุปาสโต ความว่า จิตของเราผู้เข้าไปหา
สมณะหรือพราหมณ์ผู้ฉลาดพูด เพื่อถามปัญหา พึงเลื่อมใสเพราะได้ฟัง
ธรรมที่ไพเราะ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 78/212/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตก วิจาร
มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา อยู่ ในสมัยใด
ปัญญา กิริยาที่รู้ชัด ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจัยธรรม สัมมาทิฏฐิ ธัมม-
วิจยสัมโพชฌงค์อันเป็นองค์แห่งมรรค นับเนื่องในมรรค ในสมัยนั้น อันใด
นี้เรียกว่า วีมังสิทธิบาท. ธรรมทั้งหลายอาทิผิด อาณัติกะที่เหลือ เรียกว่า ธรรมที่สัมปยุตด้วย
วีมังสิทธิบาท.
อภิธรรมภาชนีย์ จบ
ปัญหาปุจฉกะ
[๕๓๖] อิทธิบาท ๔ คือ
๑. ภิกษุในศาสนานี้ เจริญอิทธิบาทอันประกอบด้วยฉันท-
สมาธิปธานสังขาร
๒. เจริญอิทธิบาทอันประกอบด้วยวิริยสมธิปธานสังขาร
๓. เจริญอิทธิบาทอันประกอบด้วยจิตตสมาธิปธานสังขาร
๔. เจริญอิทธิบาทอันประกอบอาทิผิด สระด้วยวีมังสาสมาธิปธานสังขาร
ติกมาติกาปุจฉา ทุกมาติกาปุจฉา
บรรดาอิทธิบาท ๔ อิทธิบาทไหนเป็นกุศล อิทธิบาทไหนเป็นอกุศล
อิทธิบาทไหนเป็นอัพยากตะ ฯลฯ อิทธิบาทไหนเป็นสรณะ อิทธิบาทไหน
เป็นอรณะ ?
ติกมาติกาวิสัชนา
[๕๓๗] อิทธิบาท ๔ เป็นกุศลอย่างเดียว.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 68/217/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ก็จักขุสัมผัสนั้น เป็นปัจจัยแก่เวทนาอันสัมปยุตกับด้วยตน
ด้วยอำนาจสหชาตปัจจัย, อัญญมัญญะ-, นิสสยะ-, วิปากะ-,
อาหาระ-, สัมปยุตตะ-, อัตถิ-, อวิคตปัจจัย รวม ๘ ปัจจัย,
เป็นปัจจัยแก่เวทนาอันสัมปยุตกับด้วยสัมปฏิจฉนจิต ด้วยอำนาจ
อนันตรปัจจัย, สมนันตระ อนันตรูปนิสสยะ, นัตถิ, วิคตะ
รวม ๕ ปัจจัย, เป็นปัจจัยแก่ธรรมทั้งหลาย อันสัมปยุตกับด้วยสันติ-
รณจิตเป็นต้น ด้วยอำนาจอุปนิสสยปัจจัยเพียงปัจจัยเดียว.
ธรรมชาติใดย่อมได้ยิน ฉะนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า โสตะ.
โสตะนั้นยังความเป็นวัตถุและทวารตามสมควรแก่จิตในวิถี มีโสต-
วิญญาณจิตเป็นต้นให้สำเร็จ ตั้งอยู่ ณ ตำแหน่ง ที่มีสัณฐานดังวงแหวน
มีขนอ่อนสีน้ำตาลพอกพูนภายในช่องแห่งสัมภารโสตะ.
ธรรมชาติใด ย่อมเปล่งออก ฉะนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า
สัททะ - เสียง, อธิบายว่า ย่อมเปล่งเสียง.
ธรรมชาติใด ย่อมสูดดม ฉะนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า
ฆานะ - จมูก. ฆานะนั้นยังอาทิผิด สระความเป็นวัตถุและทวารตามสมควรแก่จิต
ในวิถี มีฆานวิญญาณเป็นต้นให้สำเร็จ ตั้งอยู่ ณ ตำแหน่ง ที่มีสัณฐาน
ดังกีบแพะในภายในแห่งช่องสสัมภารฆานะ.
ธรรมชาติใด ย่อมฟุ้งไป ฉะนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า
คันธะ - กลิ่น, อธิบายว่า ย่อมประกาศซึ่งที่อยู่ของตน.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 68/224/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ก็เป็นอสุภกรรมฐานด้วยสามารถแห่งกายคตาสติ, เมื่อปรากฏโดยความ
เป็นสี ก็เป็นวัณณกรรมฐาน,๑ เมื่อปรากฏโดยความเป็นธาตุ ก็เป็น
จตุธาตุววัตถานอาทิผิด อักขระกรรมฐาน. อนึ่ง อาการ ๓๒ มีเกสาเป็นต้นปรากฏ
โดยความเป็นปฏิกูล หรือโดยสี ฌานก็มีสิ่งที่ปรากฏนั้นเป็นอารมณ์
เมื่อธาตุปรากฏแล้ว ก็พึงทราบว่า เป็นโกฏฐาสเหล่านั้น และเป็นการ
เจริญธาตุที่มีโกฏฐาสนั้นเป็นอารมณ์.
๑ เกสา - ผมทั้งหลาย เกิดอยู่ที่หนังหุ้มกระโหลกศีรษะในด้าน
ข้างทั้ง ๒ แห่งศีรษะ กำหนดด้วยกกหูทั้ง ๒ ข้างหน้ากำหนดด้วย
หน้าผากเป็นที่สุด, และข้างหลังกำหนดด้วยท้ายทอย นับได้ตั้งแสน
เป็นอเนก.
๒ โลมา - ขนทั้งหลาย ตั้งอยู่ที่หนังหุ้มสรีระโดยมาก เว้น
ที่เป็นที่ตั้งแห่งอวัยวะมีผมเป็นต้น และฝ่ามือฝ่าเท้าทั้ง ๒ เสีย ท่าน
กำหนดขุมขนไว้ถึง ๙ หมื่น ๙ พันขุม ตั้งอยู่ในหนังหุ้มสรีระ มี
ประมาณลิกขาหนึ่งเป็นประมาณ.
๓ นขา - เล็บทั้งหลาย ตั้งอยู่บนหลังแห่งปลายนิ้วทั้งหลาย
นับได้ ๒๐.
๔ ทนฺตา - ฟันทั้งหลาย ตั้งอยู่ที่กระดูกคางทั้ง ๒ โดยมาก
นับได้ ๓๒ ซี่.
๑. ฉ. กสิณกรรมฐาน.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 68/227/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
น่าเกลียดยิ่งนัก อยู่ที่พื้นลำไส้ใหญ่บนนาภี กล่าวคือที่ท้องอันเป็น
ที่อาศัยของอาหารใหม่ต่าง ๆ ที่กลืนดื่มเคี้ยวกินและลิ้มเข้าไป.
๑๙ กรีสํ - อาหารเก่า ได้แก่ อุจจาระตั้งอยู่ในที่สุดแห่งลำไส้
ใหญ่ สูงประมาณ ๘ องคุลี ในระหว่างแห่งนาภีและที่สุดแห่งกระดูก
สันหลัง๑ ในภายใต้ กล่าวคือที่อยู่ขอบอาหารที่ย่อยแล้ว.
๒๐ ปิตฺตํ - น้ำดี ได้แก่ ดี ๒ อย่าง คือ ที่อาศัยตับใน
ระหว่างเนื้อหทัยและปอดตั้งอยู่ กล่าวคือน้ำดีที่อยู่ประจำในถุงน้ำดี มี
สัณฐานเช่นกับรังบวบขมใหญ่ ๑, และที่มิได้อยู่ประจำ เว้นที่ของผม,
ขน, เล็บ, และฟันที่ไม่มีเนื้อ และหนังที่ด้านและแห้งซึมซาบอยู่ทั่ว
สรีระส่วนที่เหลือ.
๒๑ เสมฺหํอาทิผิด - เสลด ได้แก่ เสมหะประมาณเต็มฟายมือหนึ่ง
ตั้งอยู่ที่พื้นท้อง.
๒๒ ปุพฺโพ - หนอง ได้แก่ ความแปรไปแห่งโลหิตเสีย๒
เกิดที่อวัยวะที่ถูกเสี้ยนหนามและเปลวไฟเป็นต้น กระทบแล้วหรือที่
อวัยวะที่มีฝีและต่อมพุพองเป็นต้น เกิดขึ้นแล้วด้วยการกำเริบแห่งธาตุ
ในภายในสรีระประเทศ.
๑. ... ปิฏฺิกณฺฏกมูลานํ. ๒. ปริปกฺกโลหิต...โลหิตแก่รอบ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 68/247/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ในสัมปุยุตธรรมที่เหลือ ก็นัยนี้. แต่เทศนานี้ท่านทำด้วยหัวข้อว่า
สัญญา.
________________________
ปัจจยาการ ๑๒
วิสัชนา ๑๒ มีวิสัชนาใน อวิชชา เป็นต้น พระธรรมเสนาบดีอาทิผิด อักขระ.
สารีบุตรแสดงด้วยองค์แห่งปฏิจจสมุปบาท.
กายทุจริตเป็นต้นชื่อว่า อวินทิยะ ความว่า ไม่ควรได้ เพราะ
อรรถว่าไม่ควรอาทิผิด บำเพ็ญ. ธรรมชาติใด ย่อมได้ซึ่งอวินทิยะนั้น ฉะนั้น
ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า อวิชชา.
กายสุจริตเป็นต้น ชื่อว่า วินทิยะ - ควรได้ เพราะตรงกันข้าม
กับอวินทิยะนั้น. ธรรมชาติใด ย่อมไม่ได้ซึ่งวินทิยะนั้น ฉะนั้น
ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า อวิชชา.
ธรรมชาติใด ทำอรรถคือกองแห่งขันธ์ทั้งหลายมิให้ปรากฏ. ทำ
อรรถคือความต่อแห่งอายตนะทั้งหลายมิให้ปรากฏ. ทำอรรถคือความ
ว่างแห่งธาตุทั้งหลายมิให้ปรากฏ ทำอรรถคือความเป็นใหญ่แห่งอินทรีย์
ทั้งหลายมิให้ปรากฏ. ทำอรรถคือความจริงแห่งสัจจะทั้งหลายมิให้ปรา-
กฏ ฉะนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า อวิชชา, ทำอรรถ ๔ อย่างที่กล่าว
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 7/251/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ชี. ท่านคหบดี ท่านอาจอาทิผิด สระนอนข้างที่สองตลอด ๗ เดือนได้ไหม ?
ศ. ท่านอาจารย์ ข้าพเจ้าอาจนอนข้างที่สองตลอด ๗ เดือนได้.
ชี. ท่านคหบดี ท่านอาจนอนหงายตลอด ๗ เดือนได้ไหม ?
ศ. ท่านอาจารย์ ข้าพเจ้า อาจนอนหงายตลอด ๗ เดือนได้.
ครั้งนั้น ชีวกโกมารภัจจ์ให้เศรษฐีคหบดีนอนบนเตียง มัดไว้กับเตียง
ถลกหนังศีรษะ เปิดรอยประสานกระโหลกศีรษะ นำสัตว์มีชีวิตออกมาสองตัว
แล้วแสดงแก่ประชาชนว่า ท่านทั้งหลายจงดูสัตว์มีชีวิตอาทิผิด อักขระ ๒ ตัวนี้ เล็กตัวหนึ่ง
ใหญ่ตัวหนึ่ง พวกอาจารย์ที่ทำนายไว้อย่างนี้ว่า เศรษฐีคหบดีจักถึงอนิจกรรม
ในวันที่ ๕ เพราะท่านได้เห็นสัตว์ตัวใหญ่นี้ มันจักเจาะกินมันสมองของเศรษฐี
คหบดีในวันที่ ๕ เศรษฐีคหบดีถูกมันเจาะกินมันสมองหมด ก็จักถึงอนิจกรรม
สัตว์ตัวใหญ่นี้ ชื่อว่าอันอาจารย์พวกนั้นเห็นถูกต้องแล้ว ส่วนพวกอาจารย์ที่
ทำนายไว้อย่างนี้ว่า เศรษฐีคหบดีจักถึงอนิจกรรมในวันที่ ๗ เพราะท่านได้เห็น
สัตว์ตัวเล็กนี้ มันจักเจาะกินมันสมองของเศรษฐีคหบดีในวันที่ ๗ เศรษฐี
คหบดีถูกมันเจาะกินมันสมองหมด ก็จักถึงอนิจกรรม สัตว์ตัวเล็กนี้ ชื่อว่า
อันอาจารย์พวกนั้นเห็นถูกต้องแล้ว ดังนี้ แล้วปิดแนวประสานกระโหลกศีรษะ
เย็บหนังศีรษะแล้วได้ทายาสมานแผล.
ครั้นล่วงสัปดาห์หนึ่ง เศรษฐีคหบดีได้กล่าวคำนี้ต่อชีวกโกมารภัจจ์ว่า
ท่านอาจารย์ ข้าพเจ้าไม่อาจนอนข้างเดียวตลอด ๗ เดือนได้
ชี. ท่านคหบดี ท่านรับคำฉันว่า ท่านอาจารย์ ข้าพเจ้าอาจนอนข้าง
เดียวตลอด ๗ เดือนได้ดังนี้ มิใช่หรือ ?
ศ. ข้าพเจ้ารับคำท่านจริง ท่านอาจารย์ แต่ข้าพเจ้าจักตายแน่
ข้าพเจ้าไม่อาจนอนข้างเดียวตลอด ๗ เดือนได้.
พระปิฎกธรรม