星期日, 十二月 04, 2016

Sena

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 68/247/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ในสัมปุยุตธรรมที่เหลือ ก็นัยนี้. แต่เทศนานี้ท่านทำด้วยหัวข้อว่า
สัญญา.
________________________

ปัจจยาการ ๑๒
วิสัชนา ๑๒ มีวิสัชนาใน อวิชชา เป็นต้น พระธรรมเสนาบดีอาทิผิด อักขระ.
สารีบุตรแสดงด้วยองค์แห่งปฏิจจสมุปบาท.
กายทุจริตเป็นต้นชื่อว่า อวินทิยะ ความว่า ไม่ควรได้ เพราะ
อรรถว่าไม่ควรอาทิผิด บำเพ็ญ. ธรรมชาติใด ย่อมได้ซึ่งอวินทิยะนั้น ฉะนั้น
ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า อวิชชา.
กายสุจริตเป็นต้น ชื่อว่า วินทิยะ - ควรได้ เพราะตรงกันข้าม
กับอวินทิยะนั้น. ธรรมชาติใด ย่อมไม่ได้ซึ่งวินทิยะนั้น ฉะนั้น
ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า อวิชชา.
ธรรมชาติใด ทำอรรถคือกองแห่งขันธ์ทั้งหลายมิให้ปรากฏ. ทำ
อรรถคือความต่อแห่งอายตนะทั้งหลายมิให้ปรากฏ. ทำอรรถคือความ
ว่างแห่งธาตุทั้งหลายมิให้ปรากฏ ทำอรรถคือความเป็นใหญ่แห่งอินทรีย์
ทั้งหลายมิให้ปรากฏ. ทำอรรถคือความจริงแห่งสัจจะทั้งหลายมิให้ปรา-
กฏ ฉะนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า อวิชชา, ทำอรรถ ๔ อย่างที่กล่าว
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: