Yang
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 68/217/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ก็จักขุสัมผัสนั้น เป็นปัจจัยแก่เวทนาอันสัมปยุตกับด้วยตน
ด้วยอำนาจสหชาตปัจจัย, อัญญมัญญะ-, นิสสยะ-, วิปากะ-,
อาหาระ-, สัมปยุตตะ-, อัตถิ-, อวิคตปัจจัย รวม ๘ ปัจจัย,
เป็นปัจจัยแก่เวทนาอันสัมปยุตกับด้วยสัมปฏิจฉนจิต ด้วยอำนาจ
อนันตรปัจจัย, สมนันตระ อนันตรูปนิสสยะ, นัตถิ, วิคตะ
รวม ๕ ปัจจัย, เป็นปัจจัยแก่ธรรมทั้งหลาย อันสัมปยุตกับด้วยสันติ-
รณจิตเป็นต้น ด้วยอำนาจอุปนิสสยปัจจัยเพียงปัจจัยเดียว.
ธรรมชาติใดย่อมได้ยิน ฉะนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า โสตะ.
โสตะนั้นยังความเป็นวัตถุและทวารตามสมควรแก่จิตในวิถี มีโสต-
วิญญาณจิตเป็นต้นให้สำเร็จ ตั้งอยู่ ณ ตำแหน่ง ที่มีสัณฐานดังวงแหวน
มีขนอ่อนสีน้ำตาลพอกพูนภายในช่องแห่งสัมภารโสตะ.
ธรรมชาติใด ย่อมเปล่งออก ฉะนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า
สัททะ - เสียง, อธิบายว่า ย่อมเปล่งเสียง.
ธรรมชาติใด ย่อมสูดดม ฉะนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า
ฆานะ - จมูก. ฆานะนั้นยังอาทิผิด สระความเป็นวัตถุและทวารตามสมควรแก่จิต
ในวิถี มีฆานวิญญาณเป็นต้นให้สำเร็จ ตั้งอยู่ ณ ตำแหน่ง ที่มีสัณฐาน
ดังกีบแพะในภายในแห่งช่องสสัมภารฆานะ.
ธรรมชาติใด ย่อมฟุ้งไป ฉะนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า
คันธะ - กลิ่น, อธิบายว่า ย่อมประกาศซึ่งที่อยู่ของตน.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论