星期六, 十二月 31, 2016

Bai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/243/9  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ก็ไม่ควรจะให้บวช. กุลบุตรผู้นั้นเป็นโรคฝีนั้น แม้เมื่อให้เยียวยาแล้วจะให้บวช
ต่อทำร่างกายให้มีผิวเรียบแล้วจึงควรให้บวช. ที่มีชื่อว่าติ่ง คล้ายนมโคหรือ
คล้ายนิ้วมือ ห้อยอยู่ในที่นั้น ๆ ก็มี แม้ติ่งเหล่านี้ก็จัดเป็นฝีเหมือนกัน เมื่อติ่ง
เหล่านั้นมี ไม่ควรจะให้บวช. หัวหูด มีในเวลาเป็นเด็ก ที่มีหัวสิว มีที่หน้า
ในเวลาเป็นหนุ่ม ในเวลาแก่หายหมดไป หัวหูดและหัวสิวเหล่านั้นไม่นับเป็น
ฝี เมื่อหัวเหล่านั้นมีจะให้บวชก็ควร. ส่วนเม็ดชนิดอื่น ที่ชื่อเม็ดผด มีตาม
ตัว ชนิดอื่นอีกที่ชื่อเกสรบัวก็มี ชนิดอื่นที่ชื่อเมล็ดพันธุ์ผักกาด มีขนาดเท่า
เมล็ดผักกาด ผื่นไปทั่วตัว. เมล็ดเหล่านั้นทั้งหมด เป็นชาติโรคเรื้อนเหมือน
กัน เมื่อเมล็ดเหล่านั้นมี ไม่ควรให้บวช. โรคเรื้อนมีสีคล้ายใบอาทิผิด สระบัวแดงและบัว
ขาว ไม่แตก ไม่เยิ้ม ชื่อโรคกลาก ร่างกายเป็นอวัยวะลายพร้อยเหมือนกระ
แห่งโคด้วยโรคเรื้อนชนิดใด. พึงทราบวินิจฉัยในโรคกลากนั้น โดยนัยที่กล่าว
แล้วในโรคเรื้อนชนิดนั้นแล.
ไข้มองคร่อ ชื่อโสสะ. เมื่อไข้มองคร่อนั้นมี ไม่ควรให้บวช.
โรคบ้าเพราะดี หรือโรคบ้าด้วยถูกผีสิง ชื่อโรคลมบ้าหมู. ในโรค
ลมบ้าหมู ๒ ชนิด บุคคลผู้ถูกอมนุษย์ซึ่งเคยเป็นคู่เวรกันสิงแล้ว ย่อมเป็นผู้ที่
เยียวยาได้ยาก. และเมื่อโรคลมบ้าหมูนั้นมีแม้เพียงเล็กน้อย ก็ไม่ควรให้บวช.

อรรถกถาปัญจาพาธวัตถุกถา จบ
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: