Chatukka
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 68/259/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
โสตํ อภิญฺเญยฺยํ จักขุ... โสตะ ควรรู้ยิ่ง ในไปยาล (ละคำ) ว่า
จกฺขุํ ฯเปฯ ชรามรณํ - จักขุ ฯลฯ ชรามรณะ เป็นอันได้ ๑๙๕
จตุกกะ ด้วยอำนาจของจตุกกะอาทิผิด อักขระเหล่านั้น จึงเป็นการวิสัชนา ๗๘๐,
ในจตุกกะมีอาทิว่า ชรามรณํ อภิญฺเญยฺยํ - ชรามรณะควรรู้ยิ่งทั้งหมด
จึงเป็นการวิสัชนา ๘๐๘ ข้อ โดยประการฉะนี้ว่า จตฺตาริ วิสชฺชนานิ
การวิสัชนา ๔ ข้อ.
อนึ่ง ในการวิสัชนานี้ พึงทราบว่า ปัจจัยอันเป็นประธานของ
ธรรมนั้นๆ เป็นสมุทัย, นิพพานว่างจากสังขารทั้งปวงเป็นนิโรธ.
ในอธิการนี้ บทมีอาทิว่า อนญฺญาตญฺญสฺสามีตินฺทฺริยนิโรโธ การ
ดับอินทรีย์ คืออัธยาศัยที่มุ่งบรรลุมรรคผลของผู้ปฏิบัติ หมายถึงความ
ไม่มีอินทรีย์อันเป็นโลกุตระ ๓ ประการ มี อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์
เป็นต้น ถูกต้อง. บทว่า นิโรธคามินีปฏิปทา ในทุกแห่งเป็นอริยมรรค
ทั้งนั้น. แม้เมื่อท่านกล่าวถึงผลอย่างนี้ไว้ แม้ อัญญินทรีย์ ( อินทรีย์
คือการตรัสรู้สัจธรรมด้วยมรรค) อัญญาตาวินทรีย์ ( อินทรีย์ของ
พระอรหันต์ผู้ตรัสรู้สัจธรรมแล้ว) ย่อมถูกต้อง เพราะมีชื่อเรียกว่า มรรค.
พระสารีบุตรได้ชี้แจงถึงการวิสัชนา ๘๐๘ ข้อ ด้วยสภาพที่ควร
กำหนดรู้ทุกข์เป็นต้นต่อไป. ท่านได้ชี้แจงการวิสัชนา ๘๐๘ ข้อ ด้วย
สภาพที่แทงตลอดด้วยการกำหนดรู้ทุกข์เป็นต้นอีก. การกำหนดรู้และ
การแทงตลอดด้วยสภาพที่ควรแทงตลอด ชื่อว่า ปริญญาปฏิเวธะ.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论