星期日, 五月 06, 2018

Ma

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 48/534/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สะบัดคือสลัดเครื่องประดับม้ามีระฆังเล็ก ๆ เป็นต้น ที่ผู้ชำนาญงานทำ
ไว้ดีแล้ว คือเนรมิตไว้อย่างดี. บทว่า เตสํ ได้แก่ เครื่องประดับ
เหล่านั้น.
บทว่า รถสฺส โฆโส ได้แก่ เสียงกึกก้องของรถตามที่กล่าวแล้ว.
อ อักษร ในบทว่า อปิลนฺธนาน จ เป็นเพียงนิบาต ความว่า ของ
เครื่องประดับ คืออาภรณ์ทั้งหลาย อีกอย่างหนึ่ง ท่านกล่าวว่า บทว่า
อปิลนฺธนํ เป็นปริยายคล้ายอาภรณ์ ความว่า เสียงกึกก้องของรถ ของม้า
และของอาภรณ์ทั้งหลาย. บทว่า ขุรสฺส นาโท ได้แก่ เสียงกีบม้า
กระทบ ท่านกล่าวว่า ม้าทั้งหลายไปทางอากาศก็จริง ถึงกระนั้นก็ย่อม
ได้การกระทบในการเหยาะย่างกีบของม้าเหล่านั้น ด้วยกรรมอันเป็นเหตุ
ให้ได้เสียงกระทบของกีบที่ไพเราะ. บทว่า อภิหึสนาย จ ได้แก่ เสียงม้าอาทิผิด
ลำพอง ความว่า เสียงคำรนร้องที่ม้าทั้งหลายให้เป็นไปในระหว่าง ๆ
อาจารย์บางพวกกล่าวว่า อภิเหสนาย เสียงม้าคะนอง. บทว่า สมิตสฺส
ความว่า เสียงของเทวดาที่บันเทิงฟังไพเราะเพราะพริ้ง เพื่อจะตอบคำถาม
ว่า เหมือนอะไร ท่านกล่าวว่า คนฺธพฺพตุริยานิ วิจิตฺตสํวเน ความว่า
เหมือนดนตรีเครื่อง ๕ ของเหล่าคนธรรพเทวบุตรในสวนจิตรลดา ก็
เสียงที่อาศัยดนตรี ท่านกล่าวว่า ตุริยานิ โดยนิสสยโวหาร. ปาฐะว่า
คนฺธพฺพตุริยานํ จ วิจิตฺตสํวเน ดังนี้ก็มี. ท่านนำนิคหิตมาประกอบ
เป็น ตุริยานญฺจ อาจารย์อีกพวกหนึ่งกล่าวว่า คนฺธพฺพตุริยานิ วิจิตฺร-
ปวเน ดนตรีของคนธรรพ์ ในสวนจิตรลดา.
บทว่า รเถ ฐิตา ตา ได้แก่ อัปสรที่ยืนอยู่บนรถเหล่านั้น. บทว่า
มิคมนฺทโลจนา ได้แก่ มีดวงตาอ่อนน่ารักเหมือนตาของลูกเนื้อทราย.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: