Manda
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 26/680/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ภาคเจ้า... ได้ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ลาภสักการะและความสรร-
เสริญ ทารุณ เผ็ดร้อน หยาบคาย เป็นอันตรายแก่การบรรลุธรรมอัน
เกษมจากโยคะ ซึ่งไม่มีธรรมอื่นยิ่งไปกว่า.
[๕๙๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรากำหนดใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้
บุคคลบางคนในโลกนี้ อย่างอาทิผิด อักขระนี้ว่า แม้เพราะเหตุแห่งมารดา ท่านผู้นี้ก็ไม่จงใจ
พูดมุสา แต่สมัยต่อมา เราเห็นเขาถูกลาภสักการะและความสรรเสริญ
ครอบงำย่ำยีจิตแล้ว ก็กล่าวมุสาทั้งที่รู้ได้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ลาภ
สักการะและความสรรเสริญ ทารุณ เผ็ดร้อน หยาบคาย เป็นอันตราย
แก่การบรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะ ซึ่งไม่มีธรรมอื่นยิ่งไปกว่า ภิกษุ
ทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแหละ เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราทั้งหลาย
จักละลาภสักการะและความสรรเสริญที่เกิดขึ้นแล้วเสีย และลาภสักการะ.
และความสรรเสริญที่เกิดขึ้น ก็จักครอบงำอาทิผิด อักขระจิตของพวกเราตั้งอยู่ไม่ได้
ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอพึงศึกษาอย่างนี้แหละ.
จบมาตุสูตรที่ ๗
อรรถอาทิผิด อักขระกถามาตุสูตรที่ ๗
พึงทราบวินิจฉัยในมาตุสูตรที่ ๗ ดังต่อไปนี้.
บทว่า มาตุปิ เหตุ ความว่า เขาถูกพวกโจรถามในดงอย่างนี้ว่า
ถ้าท่านพูดเท็จ เราจักปล่อยมารดาของท่าน ถ้าไม่พูดเท็จ เราจักไม่ปล่อย
ดังนี้ ไม่พึงพูดเท็จทั้งที่รู้อยู่ เพระเหตุแม้แห่งมารดาอาทิผิด สระ เพราะมารดานั้นอยู่
ในเงื้อมมือของโจร. แม้ในบทอื่นแต่นี้ ก็มีนัยเหมือนกันแล.
จบอรรถกถามาตุสูตรที่ ๗
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论